หมวดหมู่: ประเพณีและวัฒนธรรม

เหตุผลและความเชื่อของการลอยกระทง

ประเพณีลอยกระทงเกิดมาจากความเชื่อของแต่ละพื้นที่ แต่ละท้องถิ่นด้วยกัน และเป็นการสื่บทอดต่อๆมา โดยมีมาเนิ่นนานตั้งแต่โบราณกาล ในช่วงเวลาที่มีการจัดให้ลอยกระทงนั้น โดยทุกครั้งจะจัดขึ้นในเดือนสิบสองของทุกปี แต่ว่าปฏิทินที่ว่านั้นจะเป็นปฏิทินจันทรคติไทยนะ เพราะถ้าหากนับจากรุ่นปัจจุบันของเราจะตรงกับเดือนสิบเอ็ดนั่นเอง

ในช่วงที่มีการจัดงานลอยกระทงนี้เชื่อกันว่าเป็นช่วงเวลาที่น้ำขึ้น หรืออาจจะเป็นเพราะช่วงนั้นเป็นช่วงปลายฝนด้วยละมั้งเลยทำให้น้ำค่อนข้างเยอะอยู่ นอกจากนั้นยังมีช่วงที่เรียกว่าสิบห้าค่ำด้วยนะ ที่เป็นตัวกำหนดให้สามารถลอยกระทงได้ ข้อดีของวันขึ้นสิบห้าค่ำก็คือจะทำให้พระจันทร์เต็มดวง มองไปทางไหนก็สว่างไสว สวยงาม แถมมองไปยังพื้นน้ำที่เต็มไปด้วยผู้คนที่มาลอยกระทง จะเห็นได้ว่าภาพเหล่านั้นสวยสดงดงามเป็นอย่างมาก

ถึงแม้ว่าประเพณีลอยกระทงจะเป็นการสืบทอดกันมาอย่างยาวนานก็ตาม แต่ก็ไม่มีใครที่สามารถระบุได้อย่างแน่ชัดว่าประเพณีลอยกระทงนี้มีมาตั้งแต่เมื่อไหร่กันแน่ แต่ก็มีในประวัติที่มีการบ่งบอกเอาไว้อยู่เหมือนกันนะว่าประเพณีลอยกระทงนี้ในสมัยสุโขทัยก็มีแล้ว ซึ่งในช่วงของพ่อขุนรามคำแหงนั้น ได้เรียกการลอยกระทงเช่นนี้ว่า “พิธีจองเปรียญ” หรือ “การลอยพระประทีป”

นอกจากนั้นยังทำการระบุที่คนรุ่นใหม่อย่างเราเชื่ออย่างแท้จริงว่าเป็นงานลอยกระทง ก็เพราะว่าได้มีการจารึกเกี่ยวกับงานใหญ่มโหราณ ที่มีการเผาเทียนเล่นไฟกัน ด้วยเหตุผลต่างๆนี้แหละที่ทำให้คนรุ่นใหม่อย่างพวกเราเชื่อตลอดมา

แต่ก็ยังมีการพูดถึงอีกนะว่าในช่วงสมัยก่อนหน้านี้ชาวบ้านนิยมเป็นการปล่อยโคมไฟเสียมากกว่า แต่ว่าไม่ว่าจะเป็นเช่นไรก็ตาม เราเชื่อว่าในการลอยกระทงนั้นก็มุ่งเน้นให้ทุกคนได้มีการสำนึกถึงบุญคุณของแม่น้ำคงคาด้วยกันทั้งสิ้น โดยพวกเราทุกคนล้วนใช้น้ำเพื่อเป็นการใช้ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการดื่ม การอาบ หรือการนำไปชำระล้าง แม้แต่ก็นำไปประกอบให้เกิดผลผลิต เป็นต้น

ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่เราควรที่จะรำลึกถึงแม่น้ำเหล่านี้ นอกจากจะเป็นการทำกระทงเพื่อเป็นการขมาแล้ว ในวันนั้นก็ยังมีการจัดงานรื่นเริงในทุกพื้นที่อีกด้วยนะ เพื่อให้ชาวบ้านได้มารวมตัวเพื่อขมาแม่น้ำคงคาละยังเป็นการร่วมสนุก เพื่อให้ชาวบ้านรักกัน เกิดความปองดอง และสามัคคี แถมในงานก็มีกิจกรรมสนุกๆให้เลือกเล่น หรือถ้าไม่ถนัดที่จะเล่นเครื่องเล่นต่างๆก็มีกิจกรรมให้ทำอีกเพียบเลย

 

 

สนับสนุนโดย  rb888

ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ 

การที่เรานั้นมีบ้านหรือว่าการที่เราปลูกบ้านใหม่นั้นเป็นเรื่องที่เราต้องรู้ว่าเราต้องมีพิธีในการทำบุญบ้านเพื่อที่จะได้ขึ้นบ้านใหม่นั่นเองเพราะว่าการที่เรานั้นทำตามเพณีที่มาตั้งแต่สมัยโบราณนั่นเอง  การที่เรานั้นทำตามนั้นไม่ได้เป็นเรื่องที่ที่ผิดหรือว่าอะไรทั้งนั้นแต่กลับถูกมองว่าเป็นเรื่องที่ดีสะด้วยเพราะว่าการที่เรานั้นทำบุญขึ้นบ้านใหม่นั้นเป็นเรื่องที่ทำให้เรานั้นรับรู้และก็มีความสบายใจในเรื่องของการที่เราจะบอกกับคน  หรือว่าจะบอกเกี่ยวกับเจ้าที่เจ้าทางว่าเรานั้น

เป็นคนที่ที่มาปลูกบ้านและอาศัยอยู่ในที่อยู่นั้นเป็นเรื่องที่ดีเพราะว่าการที่เราเป็นเรื่องมีบ้านนั้นจะได้ทำพิธีในการต้อนรับเข้าบ้าน  เพื่อที่จะได้รู้ว่าผีบ้านผีเรือนนั้นเป็นพยานนั่นเอง  และก็จะทำให้ทุกคนที่อยู่ในบ้านนั้นมีความสุขไม่เจ็บไข้ได้ป่วยนั่นเอง  การที่เรานั้นทำพิธีนั้นก็มีแต่ละภาคนั้นที่แตกต่างกันออกไปอยู่ที่ความเชื่อของแต่ละบุคลนั่นเอง  

       ในวันนี้เรานั้นจะมาบอกการขึ้นบ้านใหม่ด้วยการที่เรานั้นทำพิธีที่ง่ายและส่วนใหญ่นั้นจะทำกันเพราะว่าเป็นการที่ประหยัดงบและการที่ไม่ต้องมีพิธีอะไรนั้นที่ยุ้งยากนั่นเองเพราะว่าการที่เรานั้นทำอย่างนี้ก็เพื่อเป็นความสบายใจอีกทางหนึ่งนั่นเอง   

       การที่เรานั้นจะนิมนพระมานั้นก็เป็นเรื่องที่เราต้องดูวันและเวลา  หรือว่าสิ่งต่างนั้นอาจจะไม่ได้อำนวยเรานั่นเองแต่ว่าการที่เรานั้นเป็นเรื่องที่เราเอาพระพุทธรูปที่เรานั้นนับถือหรือว่ากราบไหว้นั้นอุ้มเข้าบ้าน  พร้อมกับการที่เรานั้นเรียกแต่สิ่งที่ดีนั้นเข้าบ้าน  อย่างเช่น  การที่เราเรียกเงิน  เรียกทองนั้นเข้าบ้าน  การที่เราพูดแต่เรื่องที่ดีนั่นเอง

เพราะว่าจะได้เป็นเรื่องที่เรานั้นสามารถที่จะทำได้โดยที่ไม่ต้องไม่วุ้นวาย  หรือว่าสิ้นเปลืองอะไรเลย  จากนั้นเราก็ทำการถวายข้าวให้พระ  หรือว่าจะเป็นการที่เรานั้นถวายข้าวให้กับเจ้าบ้านหรือว่าผีบ้าผีเรือนเพื่อที่จะได้ปกปักรักษาคนที่อยู่บ้านนี้ให้อยู่ร่มเย็นเป็นสุขนั่นเอง  เพราะว่าการที่เราพูดดีนั้นเป็นเรื่องที่ดีนั่นเอง และอีกอย่างก็เป็นการที่เรานั้รู้สึกว่าเราสบายใจอีกด้วย  

   เห็นไหมค่ะว่าการที่เรานั้นจะทำนั้นไม่จำเป็นต้องมีพิธีอะไรที่ใหญ่โตก็ได้เพราะว่าอาจจะทำให้เรานั้นสิ้นเปลืองไปเปล่า  หรือว่าเป็นการที่เราเสียเงินโดยที่ไม่ใช่เหตุนั่นเอง  

 

สนับสนุนโดย  rb88 ฝาก ขั้น ต่ํา

ประเพณีรับบัวโยนบัว 

  พูดถึงประเพณีเก่าแก่ที่มีการปฏิบัติมาตั้งแต่ในสมัยโบราณจวบจนปัจจุบันนี้ลูกหลานก็ยังคงยึดถือปฏิบัติตามบรรพบุรุษเรื่อยมาตัวอย่างประเพณีที่เราจะพูดถึงกันในวันนี้ก็คือประเพณีรับบัวโยนบัวซึ่งถือได้ว่าเป็นประเพณีของประชาชนชาวภาคกลางโดยเฉพาะ โดยประเพณีนี้ได้มีการจัดขึ้นที่จังหวัดสมุทรปราการโดยจะจัขึ้นในอำเภอบางพลีสำหรับประเพณีนี้มีการระบุเอาไว้ว่ามีการจัดงานกันมานานเกินกว่า 80 ปีมาแล้ว

ซึ่งประเพณีรับบัวโยนบัวนั้น เป็นประเพณีที่ เกี่ยวพันมากับตำนานนั่นก็คือตำนานที่เกี่ยวกับหลวงพ่อโตก่อนที่หลวงพ่อโตนั้นจะมาปฏิภาณอยู่ที่วัดในจังหวัดสมุทร ประการนั่นเองซึ่งในสมัยก่อนนั้นว่ากันว่าหลวงพ่อโตนั้นเป็นหนึ่งในพระพุทธรูปทั้งสามรูปที่มีการลอยน้ำมาและหลวงพ่อโตก็ได้มาติดอยู่ตรงบริเวณท่าน้ำปากคลองสำรองซึ่งชาวบ้านเชื่อกันว่าเป็นความตั้งใจขององค์พระพุทธรูปหลวงพ่อโตที่อยากจะมาช่วยเหลือชาวบ้านให้ผลทุกผลโศกจึงได้รอยตามน้ำมาถึงบริเวณนี้แล้วไม่ยอมรายไปที่ไหนนั่นเองซึ่ง ในครั้งนั้นที่ชาวบ้านสามารถอัญเชิญหลวงพ่อโตขึ้นมาจากน้ำได้นั้นก็ได้มีการทำบุญให้กับหลวงพ่อโตยังครั้งยิ่งใหญ่

และหลายคนยังได้เคยเห็นอภินิหารของหลวงพ่อโตมาแล้วนับครั้งไม่ถ้วนหากใครก็ตามที่ไปขอพรกับหลวงพ่อโตนั้นก็มักจะสมหวังทุกครั้งไปจึงมีคนไปแก้บนหลังจากที่ได้พรสมตามปรารถนาจากหลวงพ่อโตแล้วมากมายจนถึงปัจจุบันนี้ก็ยังคงมีการเดินทางไปบนบานศาลกล่าวกับหลวงพ่อโตกันอย่างไม่ขาดสายและแน่นอนว่าเมื่อชาวบ้านนั้นให้ความรักเคารพนับถือหลวงพ่อโต

จึงได้มีการสร้างประเพณีหนึ่งขึ้นมาเกี่ยวกับเรื่องของการจัดงานเพื่อแสดงถึงความเคารพให้กับหลวงพ่อโตนั่นเองโดยในทุกปี ของวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 11 ชาวบ้านที่อำเภอบางพลีจะมีการจัดงานรับบัวโยนบัวได้สมัยก่อนนั้นชาวบ้านจะนำพระพุทธรูปองค์หลวงพ่อโตใส่เรือขนาดใหญ่แล้วลอยไปตามน้ำเพื่อให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งแม่น้ำนั้นได้ทำบุญร่วมกันแต่เนื่องจากว่าเรือต้องรออยู่กลางน้ำประชาชนจึงทำบุญด้วยกันนำดอกไม้มาไหว้หลวงพ่อโตด้วยการโยนใส่เข้าไปในเรือที่มีองค์หลวงพ่อโตอยู่จึงเรียกบอกแค่นี้ว่าเป็นประเพณีโยนบัว

ซึ่งคนที่อยู่ในเรือก็จะคอยรับดอกบัวที่ชาวบ้านโยน เข้ามาในเรือเพื่อจะให้นำไปถวายหลวงพ่อโตซึ่งเรียกการกระทำนี้ว่าการรับบัวดังนั้นประเพณีนี้จึงเรียกได้ว่าเป็นประเพณีโยนบัวรับบัวนั่นเองแต่เนื่องจากว่าดอกไม้ที่ชาวบ้านนำมาถวายนั้นมีมากจนเกินไปคนในเรือจึงได้มีการแบ่งดอกไม้ให้กับหลวงพ่อองค์อื่นๆเพื่อเป็นการแสดงความเคารพนับถือพระพุทธรูปองค์อื่นๆด้วย และประเพณีนี้ก็มีการทำแบบนี้เรื่อยมานับตั้งแต่ปู่ย่าตายายมาจนถึงรุ่นลูกรุ่นหลานนั่นเองปัจจุบันนี้ประเพณีรับบัวรวมตัวก็ยังคงมีอยู่

 

สนับสนุนโดย  entaplay pantip

ประเพณีล้านนา

ประเพณีล้านนา ประเพณียี่เป้ง

       สำหรับประเพณียี่เป็งเป็นประเพณีของชาวภาคเหนือที่นิยมจัดกันทุกปี โดยจะเลือกจัดงานตรงกับวันลอยกระทงของปีนั้นนั้น คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งจะอยู่ในช่วงประมาณ เดือนพฤศจิกายน  ยี่เป็งเป็นภาษาล้านนา โดยมีการแยกคำออกมาว่า ยี่ ในทางภาษาของลานนานั้นหมายถึง เดือนสอง ซึ่งเดือนนี้เป็นเดือนพฤศจิกายนของทุกปีในความหมายของคนล้านนา

ส่วนคำว่าเป็งนั้น ในภาษาล้านนาหมายถึง พระจันทร์ในคือวันเพ็ญวันจันทร์ขึ้นเต็มดวง 

สำหรับการจัดเตรียมงานฉลองเทศกาลยี่เป็งนั้นทางชาวล้านนาจะมีการเตรียมตัวกันตั้งแต่วันขึ้น 13 ค่ำ ซึ่งวันดังกล่าวจะเป็นการเริ่มต้นการเตรียมงาน โดยจะเป็นการเรียมข้าวของ ทั้งอาหาร ขนมและอื่นอื่นอีกมากมาย สำหรับจะเอาไว้ไปทำบุญทีวัดในวันขึ้น 14 ค่ำ และพอตกลางคืนของวันขึ้น 15 ค่ำก็จะเป็นการเริ่มงานประเพณียี่เป็ง

โดยภายในงานจะมีการจัดทำกระทงไปลอยในแม่น้ำ ซึ่งถือว่าเป็นการลอยกระทงเพื่อบูชาพระพุทธเจ้าและสิ่งศักดิ์ทุกองค์ตามความเชื่อของชาวล้านนา รวมถึงการขมาต่อแม่น้ำคงคา ที่มีการนำน้ำในแม่น้ำลำคลองมาใช้สำหรับกินและอาบ ซึ่งในวันนี้ชาวบ้านต่างก็จะพากันจัดทำโคมเพื่อประดับตกแต่งบ้านเรือนให้มีความสวยงาม รวมถึงจะมีการจัดงานทำบุญ ฟังเทศมหาชาติ ซึ่งชาวบ้านจะนำโคมมาตกแต่งทำซุ้มประตู นำมาประดับตกแต่งภายในงานที่จะใช้สำหรับให้พระสงฆ์นั่งเทศนาอีกด้วย

นอกจากนี้ยังจะมีการประดับไฟทั่วทั้งหมู่บ้านอย่างสวยงาม ในตอนพลบค่ำชาวบ้านต่างก็จะมารวมกันเดินทางไปที่โบสถ์เพื่อบูชาเทียน โดยมีความเชื่อกันว่าเป็นการต่อชะตา สะเดาะเคราะห์ และรับโชค รับพร โดยจะมีการทำไส้เทียนเท่ากับอายุตัวเอง และยังมีการเขียนวันเดือนปีเกิดตัวเองลงในกระดาษสา และเมื่อนำไปประกอบพิธีกรรมในโบสถ์เสร็จแล้วก็จะนำเทียนดังกล่าวกลับมาใช้ที่บ้าน ทั้งเอาไว้จุดบูชาพระ  จุดดอกไม้ไฟ หรือเอาไว้จุดปล่อยโคมไฟ 

     สำหรับเทศกาลประเพณียี่เป็งนี้ นอกจากทำบุญ และลอยกระทงแล้ว สิ่งที่เป็นไฮไลของงานที่ผู้คนนิยมเดินทางร่วมงานประเพณียี่เป็งกันมากที่สุดก็คือ การจุดโคมไฟให้ลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า โดยจะมีโคมไฟลอยขึ้นฟ้าเป็นจำนวนมากกว่า หนึ่งพันดวง ทำให้ท้องฟ้าสวยงามมองขึ้นไปเหมือนมีดาวเต็มท้องฟ้าไปหมด

ซึ่งท้องฟ้าในวันนี้จะเป็นเหมือนแสงสีแสด เปล่งประกายระยิบระยับ และประเพณีจัดกันทุกจังหวัดของภาคเหนือ แต่จะมีการจัดงานกันแบบยิ่งใหญ่ และสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ไปเที่ยวงานมากที่สุดคือที่ จังหวัดเชียงใหม่

 

สนับสนุนโดย  sagame

ประเพณีบุญผะเหวด

ดอกงิ้วป่าที่จะต้องเตรียมเอาไว้ประมาณ1,000ดอกเพื่อเป็นเครื่องบูชาคาถาพันที่ใช้ในงานบุญผะเหวดของชาวภาคอีสาน

ดอกงิ้วป่า ดอกมันปลา และ ดอกปีบ ที่ได้นำเอามาตากให้แห้งและมีกลิ่นหอมอ่อนๆซึ่งเป็นดอกไม้ในจำนวนของ10ชนิดที่ได้ถูกจัดเตรียมเอาไว้อย่างละ1,000ดอกเพื่อเป็นเครื่องที่จะเอาไว้บูชาคาถาพัน หรือ คาถาที่เอาไว้ใช้เทศน์ในงานบุญผะเหวดตามแบบโบราณ

ซึ่งได้เชื่อว่าจะสามารถคุ้มครองชุมชนและปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายการหาดอกไม้ป่าและเครื่องบูชาในงานบุญผะเหวดที่ครบถ้วนตามแบบโบราณซึ่มันหาดูได้ยากในปัจจุบันนอกจากแต่ละชุมชนอาจจะปรับลดเพื่อที่ความสะดวกสบายทำให้มหาวิทยาลัยสารคามร่วมกับชุมชนโดยรอบรื้อฟื้นเครื่องทำบูชาและอนุลักษณ์การทำบุญผะเหวดตามแบบประเพณีดั่งเดิมของชาวลาวและชาวอีสานเพื่อที่จะให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาถึงแม้ว่าทางเหล่าคณะอาจราย์จะไม่พากันรื้อฟื้นชาวบ้านแถวนั้นก็จะต้องทำกันเองเพราะว่ามันจะขาดไม่ได้เลย

สำหรับงาน บุญผะเหวดและไม่ว่าจะเป็นที่ไหนก็ชั่งยังไงก็จะต้องทำอีสานจะต้องทำบุญผผะเหวดปีหนึ่ง จะต้องทำบุญผะเหวด1ครั้งต่อปีและจะต้องเป็นเดือน4เท่านั้นเดือน5จะทำไม่ได้อีกทั้งชาวบ้านแถวนั้นก็ยังเชื่ออีกว่าในการทำบุญผะเหวดนี้จะช่วยทำให้หมู่บ้านนั้นได้อยู่ร่มเย็นเป็นสุขและถ้ามีการจัดงานและทำไม่ถูกก็ไม่ดีไปอีกและทั้งนี้

ชาวบ้านแถวนั้นยังได้บอกอีกว่าบุญที่สำคัญนั้นจะต้องเป็นบุญผะเหวดจนได้มีการเขียนบันทึกเอาไว้และได้สืบทอดต่อลูกต่อหลานกันมาว่าชุมชนไหนก็ชั่งถ้าไม่ทำบุญผะเหวดเพื่อเป็นการบูชาเทพมหาธาตุนั้นจะเกิดเหตุไฟจะไหม้เมืองเกิดความไม่มั่งคลต่อบ้านเมืองแต่ถ้าหากหมู่บ้านที่ไหนๆได้จัดงานทำบุญผะเหวดอย่างถูกต้องพระคาถาพันท่านจะคุ้มครองทั้วหมดทั้งประเทศและในพื้นที่แห่งนั้นๆนั่นก็จะหมายความว่าชาวบ้านแถวนั้นก็จะอยู่ร่มเย็นเป็นสุขสำหรับในการเขียนภาพผะเหวดขนาดเล็กโดยที่ใช้ผ้าไหมและในการทำเทียนหางหนู

โดยจะตัดฝ่ายให้เป็นเส้นยาวได้นำเอามาชุมขี้ผึ้งแท้ที่ได้นำเอามาจากปนะเทศลาวตามความเชื่อเรื่องของความศักดิ์สิทธิ์รวมทั้งการแกะสลักต้นหม่อนให้กลายมาเป็นดอกโนซึ่งเป็นเพียวส่วนหนึ่งของการเตรียมงานบุญผะเหวดที่จะต้องอาศัยความรวมมือของคนที่อาศัยอยู่ในชุมชนปัจจุบันในการเตรียมเครื่องบูชาและดอกไม้ป่าตามที่บันทึกเอาไว้ในตำนานโบราณทำได้ลำบากเพราะวัตถุดิบนั้นมันหาได้ยากกว่าในอดีต

พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญไปเวียงจันทร์

ประวัติการค้นพบพระแก้วมรกตและสาเหตุที่พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญไปเวียงจันทร์

ตามประวัติตำนานพระแก้วมรกตนั้นว่ากันว่าการค้นพบพระแก้วมรกตนั้นมีมานานเกินกว่า 500ปีมาแล้วโดยมีการระบุเป็นหลักฐานเอาไว้ว่าครั้งแรกที่มีการค้นพบพระแก้วมรกตนั้นพบว่ามีการซ่อนเอาไว้ที่วัดป่าแห่งหนึ่งแห่งเมืองเชียงรายโดยเจดีย์องค์นั้นถูกฟ้าผ่าทำให้ยอดเจดีย์หักซึ่งจังหวะนั้นเองมีพระสงฆ์รูปหนึ่งได้มาพบกับพระพุทธรูปที่ซ่อนอยู่ภายในเจดีย์ปูนแห่งนั้นพระสงฆ์องค์นั้นที่เป็นคนเจอพระแก้วมรกตจึงคิดว่าพระพุทธรูปที่ค้นพบเป็นเพียงแค่พระพุทธรูปที่สร้างมาจากหินเท่านั้นจึงได้นำพระพุทธรูปไปวางเรียงรายรวมกับพระพุทธรูปองค์อื่น

และต่อมาไม่นานปูนที่ฉาบบริเวณปลายฐานของพระพุทธรูปเกิดปรากฎการณ์ออกทำให้มองเห็นว่าด้านในของพระพุทธรูปเป็นสีเขียวมรกตหลังจากนั้นจึงได้มีการกะเทาะปูนที่ครอบพระพุทธรูปสีเขียวเอาไว้อยู่ทำให้เห็นว่าพระพุทธรูปองค์ดังกล่าวที่อยู่ด้านในถูกสร้างมาจากอินมรกตซึ่งเป็นลักษณะของการสร้างจากหยกชิ้นเดียวทั้งองค์และไม่มีรอยแตกที่ไหนเลยซึ่งหลังจากนั้นเรื่องดังกล่าวได้รู้ไปถึงหูของเจ้าเมืองเชียงใหม่พระองค์จึงสั่งให้ไปอัญเชิญพระแก้วมรกตมาไว้ยังเมืองเชียงใหม่แต่ระหว่างทางที่อัญเชิญกลับพบว่าช้างที่อัญเชิญพระแก้วมรกตนั้น

เมื่อถึงทางแยกระหว่างเชียงใหม่และลำปางกับตื่นตระหนกไม่ยอมเดินไปฝั่งของทางเชียงใหม่ซึ่งเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นถึงสามครั้งทำให้เจ้าเมืองเชียงใหม่เปลี่ยนใจให้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปไว้ที่เมืองลำปางแทนและนำพระแก้วมรกตไปประดิษฐานไว้ที่วัดพระแก้วเป็นเวลาประมาณสามสิบกว่าปี ประมาณปี พ.ศ. 2011 เจ้าเมืองเชียงใหม่องค์ใหม่เรืองอำนาจจึงได้มีการอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวงในเมืองเชียงใหม่เจ้าเมืองเชียงใหม่และพระองค์ยังได้มีการสั่งให้สร้างปราสาทขึ้นภายในวัดเพื่อใช้เป็นที่ประดิษฐานพระแก้วมรกตแต่ก็เกิดฟ้าผ่าทำให้ยอดประสาทเสียหาย

จึงทำให้พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญนำมาเก็บไว้ในตู้ของวัดและได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองเชียงใหม่เป็นเวลา 84 ปี ต่อมาลูกสาวเจ้าเมืองเชียงใหม่ได้สมรสกับเจ้าโพธิสารเจ้าผู้ครองเมืองหลวงพระบางและได้มีโอรสนามว่าพระไชยเชษฐ์ซึ่งในปี พ.ศ. 2094 เจ้าเมืองเชียงใหม่ได้เสด็จสวรรคตโดยไม่มีทายาททำให้พระไชยเชษฐ์จำเป็นต้องเดินทางกลับมาปกครองเมืองเชียงใหม่และได้มีการเปลี่ยนพระนามเป็นพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช และหลังจากพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ได้ไม่นาน พระเจ้าโพธิสารซึ่งเป็นบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคต ทำให้พระองค์ต้องเสด็จกลับเมืองหลวงพระบางและพระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วยและพระองค์ก็ตัดสินใจอยู่ปกครองเมืองที่หลวงพระบางซึ่งต่อมาพม่าบุกยึดเชียงแสนได้สำเร็จทำให้พระเจ้าไชยเชษฐ์ได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองเวียงจันทร์และหลังจากนั้นพระแก้วมรกตจึงได้ประดิษฐานอยู่ที่เวียงจันทร์ถึง215 ปี

ประเพณีการแข่งขันเรือยาว

ประเพณีการแข่งขันเรือยาวถือได้ว่าเป็นประเพณีที่เป็นมรดกวัฒนธรรมทางสายน้ำของชาวไทย

ที่มีการสะท้อนถึงวิถีชีวิตของชาวบ้านด้วยการผูกพันธ์กับสายน้ำต่างๆเหล่านี้โดยจะมีเรือและผู้คนชาวบ้านในระแวกที่อยู่กับริมแม่น้ำนั้น พวกเขาจะมีความสามัคคีกันไม่น้อยเลยโดยจะมีการร่วมมือเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันนั่นเอง

สำหรับประเพณีนี้มักจะมีการเกิดขึ้นพร้อมๆกับการทำบุญและการตักบาตร ในช่วงเทศกาลต่างๆ โดยจะมีเทศกาลที่สำคัญนั่นก็คือ เทศกาลออกพรรษา และทอดกฐินผ้าป่าสามัคคี

สำหรับประเพณีการแข่งเรือยาวนี้ถือได้ว่าเป็นเกมกีฬาที่มีความเก่าแก่ เพราะมีการเล่นกันตั้งแต่สมัยโบราณกาลย้อนกลับไปถึงสมัยอยุธยากรุงเก่าของเรานั่นเอง การแข่งเรือนั้นนอกจากจะนิยมภายในราชวังแล้วยังนิยมไปทั่วทุกพื้นที่โดยชาวบ้านหรือพวกพ่อค้าก็ตามสามารถเล่นกีฬานี้กันหมด ซึ่งเรื่องเหล่านี้ได้มีการปรากฏในกฏมณเทียรบาลเกี่ยวกับพระราชพิธีต่างๆที่มีมาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อีกด้วย เรื่องราวเหล่านี้ได้ถูกจารึกไว้ในสมัยกรุงศรีอยุธยาโบราณของเรา มีความดังนี้ว่าพระราชพิธีเดือน ๑๑ จะมีการแข่งเรือยาวขึ้น เพื่อเป็นการฝึกปรือกำลังพลทหารประจำกองเรือนั่นเอง

สำหรับการแข่งเรือยาวของพวกชาวบ้านนั้นถือได้ว่าจัดขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งเพื่อการละเล่นในช่วงเทศกาลทอดกฐินของคนไทยทอดผ้าป่า ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดือน ๑๑ – ๑๒ ซึ่งจะตรงกับฤดูน้ำหลากพอดี ซึ่งเหล่าชาวบ้านที่มีการตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำต่างๆนั้น จะมีการนำเรือเพื่อเป็นการใช้งานเป็นประจำอยู่แล้วเมื่อถึงหน้ากฐิน ผ้าป่าสามัคคีก็มักจะนิยมนำเรือมาร่วมขบวนแห่ผ้ากฐิน องค์ผ้าป่าไปยังวัดอยู่แล้วดังนั้นหากมีการแห่เสร็จก็จะทำการแข่งเรือเป็นการเล่นให้สนุกสนานต่างๆนานา

กีฬาแข่งเรือนั้นได้พัฒนาขึ้นตามลำดับแถมยังเป็นกีฬาที่มีการเชื่อมต่อเป็นการสานสัมพันธ์ให้กับทุกคนอีกด้วย แถมกีฬานี้ยังเป็นเป็นเกมกีฬาระดับประเทศชิงถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯอีกด้วย จึงทำให้กีฬานี้ได้กลายเป็นกีฬาทางน้ำที่ได้รับความนิยมแพร่หลายในหลายๆ จะมีการจัดขึ้นกันที่สนามแข่งขันบริเวณตามลุ่มน้ำสำคัญในประเทศ เช่น ประเพณีแข่งขันเรือยาวจังหวัดพิจิต การแข่งขันเรือยาวจังหวัดน่าน การแข่งขันเรือยาวจังหวัดชุมพร  และจังหวัดอื่นๆ ที่เป็นลุ่มน้ำสำคัญในประเทศไทย

จุดประสงค์หลักๆของความสำคัญในการจัดการแข่งขันเรือยาวนี้ถือได้ว่าเป็นประเพณีต่างๆที่ดีเพื่อเป็นการสร้างความสามัคคีของฝีพายในเรือลำเดียวกัน  และเห็นความเสียสละของฝีพายที่จะต้องขยันหมั่นซ้อมพาย เพื่อเป็นการทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจ ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน และเสน่ห์ของเกมกีฬาประเภทนี้อีกอย่างก็คือ จังหวะ ความพร้อมเพรียงในการพาย การจ้วงพายให้เร็วขึ้นเมื่อเข้าใกล้เส้นชัย กระชับ รวดเร็วแต่พร้อมเพรียงกัน การแข่งขันที่ให้คนดูได้ลุ้นอยู่ตลอดเวลา และการพากย์เสียงของพิธีกรประจำสนามที่ต้องยอมรับว่าสร้างความตื่นเต้นเร้าใจให้กับการแข่งขันได้ไม่น้อยเลยทีเดียว