ป้ายกำกับ: ประเพณีบุญผะเหวด

ประเพณีบุญผะเหวด

ดอกงิ้วป่าที่จะต้องเตรียมเอาไว้ประมาณ1,000ดอกเพื่อเป็นเครื่องบูชาคาถาพันที่ใช้ในงานบุญผะเหวดของชาวภาคอีสาน

ดอกงิ้วป่า ดอกมันปลา และ ดอกปีบ ที่ได้นำเอามาตากให้แห้งและมีกลิ่นหอมอ่อนๆซึ่งเป็นดอกไม้ในจำนวนของ10ชนิดที่ได้ถูกจัดเตรียมเอาไว้อย่างละ1,000ดอกเพื่อเป็นเครื่องที่จะเอาไว้บูชาคาถาพัน หรือ คาถาที่เอาไว้ใช้เทศน์ในงานบุญผะเหวดตามแบบโบราณ

ซึ่งได้เชื่อว่าจะสามารถคุ้มครองชุมชนและปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายการหาดอกไม้ป่าและเครื่องบูชาในงานบุญผะเหวดที่ครบถ้วนตามแบบโบราณซึ่มันหาดูได้ยากในปัจจุบันนอกจากแต่ละชุมชนอาจจะปรับลดเพื่อที่ความสะดวกสบายทำให้มหาวิทยาลัยสารคามร่วมกับชุมชนโดยรอบรื้อฟื้นเครื่องทำบูชาและอนุลักษณ์การทำบุญผะเหวดตามแบบประเพณีดั่งเดิมของชาวลาวและชาวอีสานเพื่อที่จะให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาถึงแม้ว่าทางเหล่าคณะอาจราย์จะไม่พากันรื้อฟื้นชาวบ้านแถวนั้นก็จะต้องทำกันเองเพราะว่ามันจะขาดไม่ได้เลย

สำหรับงาน บุญผะเหวดและไม่ว่าจะเป็นที่ไหนก็ชั่งยังไงก็จะต้องทำอีสานจะต้องทำบุญผผะเหวดปีหนึ่ง จะต้องทำบุญผะเหวด1ครั้งต่อปีและจะต้องเป็นเดือน4เท่านั้นเดือน5จะทำไม่ได้อีกทั้งชาวบ้านแถวนั้นก็ยังเชื่ออีกว่าในการทำบุญผะเหวดนี้จะช่วยทำให้หมู่บ้านนั้นได้อยู่ร่มเย็นเป็นสุขและถ้ามีการจัดงานและทำไม่ถูกก็ไม่ดีไปอีกและทั้งนี้

ชาวบ้านแถวนั้นยังได้บอกอีกว่าบุญที่สำคัญนั้นจะต้องเป็นบุญผะเหวดจนได้มีการเขียนบันทึกเอาไว้และได้สืบทอดต่อลูกต่อหลานกันมาว่าชุมชนไหนก็ชั่งถ้าไม่ทำบุญผะเหวดเพื่อเป็นการบูชาเทพมหาธาตุนั้นจะเกิดเหตุไฟจะไหม้เมืองเกิดความไม่มั่งคลต่อบ้านเมืองแต่ถ้าหากหมู่บ้านที่ไหนๆได้จัดงานทำบุญผะเหวดอย่างถูกต้องพระคาถาพันท่านจะคุ้มครองทั้วหมดทั้งประเทศและในพื้นที่แห่งนั้นๆนั่นก็จะหมายความว่าชาวบ้านแถวนั้นก็จะอยู่ร่มเย็นเป็นสุขสำหรับในการเขียนภาพผะเหวดขนาดเล็กโดยที่ใช้ผ้าไหมและในการทำเทียนหางหนู

โดยจะตัดฝ่ายให้เป็นเส้นยาวได้นำเอามาชุมขี้ผึ้งแท้ที่ได้นำเอามาจากปนะเทศลาวตามความเชื่อเรื่องของความศักดิ์สิทธิ์รวมทั้งการแกะสลักต้นหม่อนให้กลายมาเป็นดอกโนซึ่งเป็นเพียวส่วนหนึ่งของการเตรียมงานบุญผะเหวดที่จะต้องอาศัยความรวมมือของคนที่อาศัยอยู่ในชุมชนปัจจุบันในการเตรียมเครื่องบูชาและดอกไม้ป่าตามที่บันทึกเอาไว้ในตำนานโบราณทำได้ลำบากเพราะวัตถุดิบนั้นมันหาได้ยากกว่าในอดีต