พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญไปเวียงจันทร์

พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญไปเวียงจันทร์

ประวัติการค้นพบพระแก้วมรกตและสาเหตุที่พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญไปเวียงจันทร์

ตามประวัติตำนานพระแก้วมรกตนั้นว่ากันว่าการค้นพบพระแก้วมรกตนั้นมีมานานเกินกว่า 500ปีมาแล้วโดยมีการระบุเป็นหลักฐานเอาไว้ว่าครั้งแรกที่มีการค้นพบพระแก้วมรกตนั้นพบว่ามีการซ่อนเอาไว้ที่วัดป่าแห่งหนึ่งแห่งเมืองเชียงรายโดยเจดีย์องค์นั้นถูกฟ้าผ่าทำให้ยอดเจดีย์หักซึ่งจังหวะนั้นเองมีพระสงฆ์รูปหนึ่งได้มาพบกับพระพุทธรูปที่ซ่อนอยู่ภายในเจดีย์ปูนแห่งนั้นพระสงฆ์องค์นั้นที่เป็นคนเจอพระแก้วมรกตจึงคิดว่าพระพุทธรูปที่ค้นพบเป็นเพียงแค่พระพุทธรูปที่สร้างมาจากหินเท่านั้นจึงได้นำพระพุทธรูปไปวางเรียงรายรวมกับพระพุทธรูปองค์อื่น

และต่อมาไม่นานปูนที่ฉาบบริเวณปลายฐานของพระพุทธรูปเกิดปรากฎการณ์ออกทำให้มองเห็นว่าด้านในของพระพุทธรูปเป็นสีเขียวมรกตหลังจากนั้นจึงได้มีการกะเทาะปูนที่ครอบพระพุทธรูปสีเขียวเอาไว้อยู่ทำให้เห็นว่าพระพุทธรูปองค์ดังกล่าวที่อยู่ด้านในถูกสร้างมาจากอินมรกตซึ่งเป็นลักษณะของการสร้างจากหยกชิ้นเดียวทั้งองค์และไม่มีรอยแตกที่ไหนเลยซึ่งหลังจากนั้นเรื่องดังกล่าวได้รู้ไปถึงหูของเจ้าเมืองเชียงใหม่พระองค์จึงสั่งให้ไปอัญเชิญพระแก้วมรกตมาไว้ยังเมืองเชียงใหม่แต่ระหว่างทางที่อัญเชิญกลับพบว่าช้างที่อัญเชิญพระแก้วมรกตนั้น

เมื่อถึงทางแยกระหว่างเชียงใหม่และลำปางกับตื่นตระหนกไม่ยอมเดินไปฝั่งของทางเชียงใหม่ซึ่งเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นถึงสามครั้งทำให้เจ้าเมืองเชียงใหม่เปลี่ยนใจให้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปไว้ที่เมืองลำปางแทนและนำพระแก้วมรกตไปประดิษฐานไว้ที่วัดพระแก้วเป็นเวลาประมาณสามสิบกว่าปี ประมาณปี พ.ศ. 2011 เจ้าเมืองเชียงใหม่องค์ใหม่เรืองอำนาจจึงได้มีการอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวงในเมืองเชียงใหม่เจ้าเมืองเชียงใหม่และพระองค์ยังได้มีการสั่งให้สร้างปราสาทขึ้นภายในวัดเพื่อใช้เป็นที่ประดิษฐานพระแก้วมรกตแต่ก็เกิดฟ้าผ่าทำให้ยอดประสาทเสียหาย

จึงทำให้พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญนำมาเก็บไว้ในตู้ของวัดและได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองเชียงใหม่เป็นเวลา 84 ปี ต่อมาลูกสาวเจ้าเมืองเชียงใหม่ได้สมรสกับเจ้าโพธิสารเจ้าผู้ครองเมืองหลวงพระบางและได้มีโอรสนามว่าพระไชยเชษฐ์ซึ่งในปี พ.ศ. 2094 เจ้าเมืองเชียงใหม่ได้เสด็จสวรรคตโดยไม่มีทายาททำให้พระไชยเชษฐ์จำเป็นต้องเดินทางกลับมาปกครองเมืองเชียงใหม่และได้มีการเปลี่ยนพระนามเป็นพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช และหลังจากพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ได้ไม่นาน พระเจ้าโพธิสารซึ่งเป็นบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคต ทำให้พระองค์ต้องเสด็จกลับเมืองหลวงพระบางและพระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วยและพระองค์ก็ตัดสินใจอยู่ปกครองเมืองที่หลวงพระบางซึ่งต่อมาพม่าบุกยึดเชียงแสนได้สำเร็จทำให้พระเจ้าไชยเชษฐ์ได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองเวียงจันทร์และหลังจากนั้นพระแก้วมรกตจึงได้ประดิษฐานอยู่ที่เวียงจันทร์ถึง215 ปี

เส้นทางการไปพบภาพเขียนของผาแต้ม

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข24เป็นหนึ่งทางหลวงสายประทานของภาคตะวันออกเฉียงเหนือยที่แยกตัวออกมาจากหมายเลขหลักหมายเลข2หรือถนนมิตรภาพโดยเริ่มจากทางแยกต่างระดับสีคิ้วเขตจังหวัดนครราชสีมาตัดผ่านอีกหลายจังหวัดก่อนที่จะเข้าไปสิ้นสุดที่เขตอำเภอเมืองอุบลราชธานีรวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ420กิโลเมตรทางหลวงในประเทศไทยในปัจจุบันยังใช้ตัวเลขจำกัดเพื่อบ่งบอกถึงความสำคัญในลักษณะการเชื่อมต่อภูมิภาคเช่นทางหลวงที่มีตัวเลขตัวเดียวจะหมายถึงทางหลวงหลักที่เริ่มจากกรุงเทพมหานคร

ตัดเชื่อมต่อไปยังประเทศหลักของประเทศเช่นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข1หรือถนนพหลโยธินจะไปสิ้นสุดที่จุดเหนือสุดของประเทศที่อำเภอแม่สายจังหวัดเชียงรายสำหรับทางหลวงที่มีตัวเลขจำนวนสอหลักจะหมายถึงทางประทานตามภาคต่างๆที่ได้ต่อเชื่อมจากทางหลวงหมายเลขตัวเดียว

เพื่อสร้างโครงข่ายคมนาคมทาบกให้ครอบคุมพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมด้วย

สถานะทางหลวงสายประทานของอีสานใต้จึงทำให้ถนนหลวงหมายเลข24ได้กลายเป็นหนึ่งในเส้นทางหลักสำหรับในการเดินทางและขนส่งทางด้ารสินค้าที่มันสามารถเชื่อมต่อไปไกลถึงชายแดนแต่เรื่องราวเหล่านนี้ที่เราจะนำมาแนะเสนอที่เกี่ยวกับถนนเส้นนี้ไม่ใช่เรื่องของเศรษฐกิจหรือการคมนาคมใดๆแต่เราจะพาคุณไปเยี่ยมชอปราสาทศึกษาหินในหลายๆแห่งที่พบอยู่รายทางสองฝั่งถนนซึ่งปราสาทในแต่ละแห่งลวนมีเกล็ดสาระทางประวัติสาทหรือตำนานที่น่าสนใจจากอายุที่ยืนยาวนับพันปีจากนั้นเราจะพามาชอบเรื่องราวที่ได้มีนักศึกษาโบราณคดีได้มีการค้นพบภาพเขียนสี

ภาพเขียนสีที่ภพมีอายุไม่ต่ำกว่า3,000 4,000ปีโดยมีการค้บพบภาพเขียนสีอยู่หลายกลุ่มกระจายอยู่ตามแนวหน้าผาคือกลุ่มผาขาม กลุ่มผาแต้ม กลุ่มผาหมอน และ กลุ่มผาหมอนน้อย โดยส่วนใหญ่จะบอกเหล่าถึงวิธีชีวิตของคนในยุคนั้นซึ่งได้เป็นสังคมของเกษตรกรรมภาพเขียนนั้นบ่งบอกให้เห็นถึงการล่าสัตว์เครื่องมือเครื่องใช้มีภาพคนสัตว์รอยประทับมือและสัญลักษณ์บางอย่างที่นักโบราณคดีได้วิเคราะห์ว่ามันน่าจะสะท่อนถึงการปลูกข้าวในบรรดาภาพที่ได้พบทั้งหมด กลุ่มภาพเขียนสีผาแต้มเป็นกลุ่มภาพที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือมีภาพเขียนมากกว่า300ภาพ

เป็นภาพคนภาพสัตว์เครื่องมือในการจับปลาและลวดลายเลขาคณิตเรียงรายกันเป็นแนวยาวราวประมาณ180เมตรซึ่งถือได้ว่าเป็นกลุ่มภาพเขียนสีที่ยาวที่สุดในประเทศการที่ได้มาเที่ยวที่ผาแต้มนอกจากจะได้ชื่นชมความงามของศิลปะยุคก่อนประวัติศาสตร์สภาพทางธรณีวิทยาของผาแต้มก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่หน้าสนใจไม่แพ้กันผาแต้มเป็นผาหินทรายที่อยู่ในหมวดหินภูพานอายุประมาณ130ปีหน้าผาเกิดการยุบตัวที่ลาบสูงของโคราชและยังเกิดรอยแตกรอยเลื่อนเป็นช่องทางน้ำไหลซึ่งได้พัฒนากลายมาเป็นมาน้ำโขง

การสำรวจปราสาทหลังที่2ของพระศิวะ

รูปสลักนี้มันใหญ่โตและมีความหน้าทึ่งขนาดไหนในสายตาของคนที่เดินเข้าปราสาทมันได้ต่างจากรูปสลักเทพสตรีสองรูปที่มีขนาดเท่ากับมนุษย์แต่เทพองค์กลางจะมีขนาดที่ใหญ่กว่าสองเท่ารูปสลักในท่าใหญ่มหึมามันเป็นสิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ในทางโบราณคดีของขอมโบราณนั้นเองเมื่อได้มีการประกอบเสร็จมันจึงกลายเป็นรูปที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เมืองพระนคร

สำหรับรูปปั้นนั้นมีความสูงประมาณ5.6เมตรมี10กลอนและ5เศรียอาจจะทาด้วยสีแดงอาจทำให้น่าประทับใจมากขึ้นไปอีกในปราสาทรอบพระศิวะมีพระแม่อุมาชายาผู้ใจดีและมือกลองอีกสองคนและพระแม่กาลีชายาผู้โหดร้ายถือกระโหลกและขามนุษย์ปราสาททางเข้าสู่เทวาลัยนี้เป็นทางผ่านไปสู่ชีวิตหลังความตายจากนั้นมันจะเกิดอะไรขึ้น

เมื่อได้เดินผ่าประตูนี้ไปและคราวนี้นักประวัติศาสตร์ทางโบราณคดีจะศึกษาปราสาทหลังต่อไปที่จะก้าวผ่าไปสู่เทวาลัยตรงกลางได้พวกทีมงานก็ได้เก็บชิ้นส่วนรูปสลัก8รูปที่เคยได้ตั้งอยู่ที่นั่นไปแล้วจากนั้นพวกเขาก็จะค้นหาว่ารูปสลักเหล่านี้เป็นใครบ้างเพื่อที่จะทำความเข้าใจรูปสลักที่นั่นได้ถูกปล้นไปหมดพวกเขาไปถูกทุบแตกเพื่อที่จะได้ขนมันออกไปได้ส่วนของฐานนั้นล้มพังทั้งหมดและมีเพียงเศษรูปสลักที่ยังหลงเหลืออยู่เพียงเท่านั้นนักโบราณคดีได้คุ้นเคยกับรูปสลัก4รูปจากทั้งหมด8รูปและที่พิพิธภัณฑ์กรุงพนมเปญมีการแสดงส่วนลำตัวคนค่อมจากปราสาทและมีเศรียแกะสลักอีกสองเศียร

แต่ตอนนี้ยังไม่มีเบาะแสว่าพวกเขานั้นเป็นใครปราสาทหลังที่2นี้

มันยังคงเป็นปริศนาอยู่และมันก็จะยังคงเป็นปริศนาไปตลอดกาลและมีท่านหนึ่งที่เป็นนักสำรวจไม่ได้ไปที่เกาะแกและวาดรูปแกะสลักก่อนที่มันจะหายไปซึ่งมีภาพวาดของนักโบราณคดีท่านหนึ่งที่น่าสนใจมากซึ่งมันก็อาจจะดูยากหน่อยแต่ก็มันทำให้เราเห็นภาพของสถานที่นี้ตอนที่เขานั้นได้ค้นพบมาเมื่อปี่1885รูปสลักนี้ยังอยู่หลังจากที่ได้มีการขุดค้นทีละชั้นและของทุกอย่างก็ยังอยู่ที่เดิมไม่มีอะไรล้มและมีแค่เศรียที่มันยังหายไปบ้างและมีรูปสลักรูปหนึ่งที่ทำให้เกิดคำถามเป็นรูปสลักที่ไร้เศียรขี่สัตว์จนมาถึงตอนนี้นักโบราณคดีเชื่อว่าสัตว์นี้เป็นวัวพาหนะพระศิวะและเอริคก็จะพิสูจน์ให้เห็นว่ามันไม่ใช่ระหว่างที่ขุดค้นเขาก็ได้พบกับชิ้นส่วนที่นำมาต่อกับหัวสัตว์ทันทีซึ่งได้นำเอามาต่อกันแล้วปรากฏว่ามันไม่ใช่วัวแต่มันเป็นเขากระบือ

ประเพณีการแข่งขันเรือยาว

ประเพณีการแข่งขันเรือยาวถือได้ว่าเป็นประเพณีที่เป็นมรดกวัฒนธรรมทางสายน้ำของชาวไทย

ที่มีการสะท้อนถึงวิถีชีวิตของชาวบ้านด้วยการผูกพันธ์กับสายน้ำต่างๆเหล่านี้โดยจะมีเรือและผู้คนชาวบ้านในระแวกที่อยู่กับริมแม่น้ำนั้น พวกเขาจะมีความสามัคคีกันไม่น้อยเลยโดยจะมีการร่วมมือเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันนั่นเอง

สำหรับประเพณีนี้มักจะมีการเกิดขึ้นพร้อมๆกับการทำบุญและการตักบาตร ในช่วงเทศกาลต่างๆ โดยจะมีเทศกาลที่สำคัญนั่นก็คือ เทศกาลออกพรรษา และทอดกฐินผ้าป่าสามัคคี

สำหรับประเพณีการแข่งเรือยาวนี้ถือได้ว่าเป็นเกมกีฬาที่มีความเก่าแก่ เพราะมีการเล่นกันตั้งแต่สมัยโบราณกาลย้อนกลับไปถึงสมัยอยุธยากรุงเก่าของเรานั่นเอง การแข่งเรือนั้นนอกจากจะนิยมภายในราชวังแล้วยังนิยมไปทั่วทุกพื้นที่โดยชาวบ้านหรือพวกพ่อค้าก็ตามสามารถเล่นกีฬานี้กันหมด ซึ่งเรื่องเหล่านี้ได้มีการปรากฏในกฏมณเทียรบาลเกี่ยวกับพระราชพิธีต่างๆที่มีมาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อีกด้วย เรื่องราวเหล่านี้ได้ถูกจารึกไว้ในสมัยกรุงศรีอยุธยาโบราณของเรา มีความดังนี้ว่าพระราชพิธีเดือน ๑๑ จะมีการแข่งเรือยาวขึ้น เพื่อเป็นการฝึกปรือกำลังพลทหารประจำกองเรือนั่นเอง

สำหรับการแข่งเรือยาวของพวกชาวบ้านนั้นถือได้ว่าจัดขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งเพื่อการละเล่นในช่วงเทศกาลทอดกฐินของคนไทยทอดผ้าป่า ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดือน ๑๑ – ๑๒ ซึ่งจะตรงกับฤดูน้ำหลากพอดี ซึ่งเหล่าชาวบ้านที่มีการตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำต่างๆนั้น จะมีการนำเรือเพื่อเป็นการใช้งานเป็นประจำอยู่แล้วเมื่อถึงหน้ากฐิน ผ้าป่าสามัคคีก็มักจะนิยมนำเรือมาร่วมขบวนแห่ผ้ากฐิน องค์ผ้าป่าไปยังวัดอยู่แล้วดังนั้นหากมีการแห่เสร็จก็จะทำการแข่งเรือเป็นการเล่นให้สนุกสนานต่างๆนานา

กีฬาแข่งเรือนั้นได้พัฒนาขึ้นตามลำดับแถมยังเป็นกีฬาที่มีการเชื่อมต่อเป็นการสานสัมพันธ์ให้กับทุกคนอีกด้วย แถมกีฬานี้ยังเป็นเป็นเกมกีฬาระดับประเทศชิงถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯอีกด้วย จึงทำให้กีฬานี้ได้กลายเป็นกีฬาทางน้ำที่ได้รับความนิยมแพร่หลายในหลายๆ จะมีการจัดขึ้นกันที่สนามแข่งขันบริเวณตามลุ่มน้ำสำคัญในประเทศ เช่น ประเพณีแข่งขันเรือยาวจังหวัดพิจิต การแข่งขันเรือยาวจังหวัดน่าน การแข่งขันเรือยาวจังหวัดชุมพร  และจังหวัดอื่นๆ ที่เป็นลุ่มน้ำสำคัญในประเทศไทย

จุดประสงค์หลักๆของความสำคัญในการจัดการแข่งขันเรือยาวนี้ถือได้ว่าเป็นประเพณีต่างๆที่ดีเพื่อเป็นการสร้างความสามัคคีของฝีพายในเรือลำเดียวกัน  และเห็นความเสียสละของฝีพายที่จะต้องขยันหมั่นซ้อมพาย เพื่อเป็นการทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจ ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน และเสน่ห์ของเกมกีฬาประเภทนี้อีกอย่างก็คือ จังหวะ ความพร้อมเพรียงในการพาย การจ้วงพายให้เร็วขึ้นเมื่อเข้าใกล้เส้นชัย กระชับ รวดเร็วแต่พร้อมเพรียงกัน การแข่งขันที่ให้คนดูได้ลุ้นอยู่ตลอดเวลา และการพากย์เสียงของพิธีกรประจำสนามที่ต้องยอมรับว่าสร้างความตื่นเต้นเร้าใจให้กับการแข่งขันได้ไม่น้อยเลยทีเดียว