ผู้เขียน: admin

ตำนาน ทหาร ว้าแดง

วันนี้เราจะมามาเล่าเรื่องเกี่ยวกับ กองทัพว้าแดง

ว่าเป็นกองกำลังที่มีประสิทธิภาพมากขนาดไหน กองทัพ ว้าแดงนั้นได้เก็บตัวเงียบมาตลาดในแวดวงการเมืองของประเทศหลังจากที่ได้ทำข้อตกลงหยุดยิงเมื่อปีพุทธศักราช 2532 ทำให้กองทัพว้าแดงนั้นได้สิทธิในการปกครองตนเองบนพื้นที่ที่มีขนาดเท่ากับเบลเยียมติดกับพรมแดนจีนและได้กลายมาเป็นเขตกันชนให้กับทางจีน โดยกองทัพว้าแดงนั้นได้ถูกตราหน้าว่าเป็นขบวนการค้ายาเสพติดที่ติดอาวุทหนักที่สุดของเอเชียแต่ในขณะนี้กบฏคนกลุ่มน้อยชาว ว้า ที่ได้รับการสนับสนุนจากจีนได้ผงาดขึ้นมา

เป็นผู้เล่นคนสำคัญในกระบวนการเมียนมาร์ (พม่า)สืบเนื่องมาจากอิทธิพลที่แข็งแกร่งของจีนที่มีเหนือประเทศเพื่อบ้านเมื่อ นางอองซานซูจี ผู้นำพลเรือนคนใหม่ของรัฐบาล เมียนมาร์ (พม่า) ได้มีการจัดประชุมสันติภาพรอบแรกกับกลุ่มชาติพันธต่างๆมากมายเมื่อปีที่แล้วและการเข้าร่วมเจรจาของ กองทัพว้าแดง เป็นเพียงตัวประกอบเท่านั้นโดยกองทัพว้าแดงนั้น

ได้เกินขึ้นมาจากคนกลุ่มน้อยที่มีชื่อว่า ว้า ซึ่งเป็นชนชาติเก่าแก่ของเมียนมาร์ (พม่า)มีรกลากอยู่บริเวณตอนบนของรัฐฉานซึ่งมีชื่อเสียงของชาวว้าในสมัยก่อนนั้นเป็นที่หน้าสะพรึงกลัวของชนเผ่าอื่นเพราะพวกเขาได้ถูกขนาดนามว่าเป็นนักล่าหัวมนุษย์โดยในอดีคชนชาติว้านั้นประกอบอาชีพหลักคือการเพาะปลูกจนมาถึงในช่วงที่ก่อตั้งกองกำลัง ว้าแดง

จึงได้หันไปปลูกฝิ่นเพื่อขายระดมทุนมาใช้ในการทำสงครามปลดปล่อยกับรัฐบาลพม่าจนกลายมาเป็นรายได้หลักมหาศาลซึ่งส่งผมให้กองกำลังว้าแดงนั้นได้มีเงินซื้ออาวุธที่ทันสมัยมาใช้ต่อกลอนกัยรัฐบาลในการเติบโตของกองกำลังว้าแดงนั้นได้ทำให้รัฐบาลพม่าถึงต้องกับหนักใจเพราะกองกำลังว้าแดงได้กลายเป็นกองกำลังติดอาวุธที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศโดยมีกำลังพลถึง30,000นายแบ่งออกเป็น4กลุ่มตั้งรกลากอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ

โดยแต่ละกลุ่มจะมีผู้นำที่ติดต่อเป็นพันธมิตรระหว่างกันโดยรัฐบาลพม่านั้นได้ตระหนักถึงข้อนี้ดีถ้าทั้ง4กลุ่มรวมตัวกันโจมตีก็จะทำให้การปราบปรามทำได้ยากจึงได้แก้ปัญหาด้วยการทำสัญญาหยุดยิงในปีพุทธศักราช2533 ซึ่งข้อตกลงนี้รัฐบาลพม่าถึงว่าได้ประโยช์นเช่นกันเพราะสามารถใช้กองกำลังว้าแดงปราบชนกลุ่มน้อยอื่นๆที่อยากจะแยกตัวออกจากพม่าได้เช่น กองกำลังรัฐฉานและในช่วงปีพุทธศักราช2551 ทางรัฐบาลพม่าได้ให้สิทธิ์ในการตั้งเขตปกครองตัวเองแก่กองกำลัง ว้าแดง ทั้งหมด6แห่งโดยมีศูนย์การปกครองอยู่ที่เมืองปางซาง พม่า ตั้งอยู่รัฐฉาน ติดอยู่กับมณฑลยูนนาน ประเทศจีน  

 

สนับสนุนโดย  9luck

ประเพณีล้านนา

ประเพณีล้านนา ประเพณียี่เป้ง

       สำหรับประเพณียี่เป็งเป็นประเพณีของชาวภาคเหนือที่นิยมจัดกันทุกปี โดยจะเลือกจัดงานตรงกับวันลอยกระทงของปีนั้นนั้น คือ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งจะอยู่ในช่วงประมาณ เดือนพฤศจิกายน  ยี่เป็งเป็นภาษาล้านนา โดยมีการแยกคำออกมาว่า ยี่ ในทางภาษาของลานนานั้นหมายถึง เดือนสอง ซึ่งเดือนนี้เป็นเดือนพฤศจิกายนของทุกปีในความหมายของคนล้านนา

ส่วนคำว่าเป็งนั้น ในภาษาล้านนาหมายถึง พระจันทร์ในคือวันเพ็ญวันจันทร์ขึ้นเต็มดวง 

สำหรับการจัดเตรียมงานฉลองเทศกาลยี่เป็งนั้นทางชาวล้านนาจะมีการเตรียมตัวกันตั้งแต่วันขึ้น 13 ค่ำ ซึ่งวันดังกล่าวจะเป็นการเริ่มต้นการเตรียมงาน โดยจะเป็นการเรียมข้าวของ ทั้งอาหาร ขนมและอื่นอื่นอีกมากมาย สำหรับจะเอาไว้ไปทำบุญทีวัดในวันขึ้น 14 ค่ำ และพอตกลางคืนของวันขึ้น 15 ค่ำก็จะเป็นการเริ่มงานประเพณียี่เป็ง

โดยภายในงานจะมีการจัดทำกระทงไปลอยในแม่น้ำ ซึ่งถือว่าเป็นการลอยกระทงเพื่อบูชาพระพุทธเจ้าและสิ่งศักดิ์ทุกองค์ตามความเชื่อของชาวล้านนา รวมถึงการขมาต่อแม่น้ำคงคา ที่มีการนำน้ำในแม่น้ำลำคลองมาใช้สำหรับกินและอาบ ซึ่งในวันนี้ชาวบ้านต่างก็จะพากันจัดทำโคมเพื่อประดับตกแต่งบ้านเรือนให้มีความสวยงาม รวมถึงจะมีการจัดงานทำบุญ ฟังเทศมหาชาติ ซึ่งชาวบ้านจะนำโคมมาตกแต่งทำซุ้มประตู นำมาประดับตกแต่งภายในงานที่จะใช้สำหรับให้พระสงฆ์นั่งเทศนาอีกด้วย

นอกจากนี้ยังจะมีการประดับไฟทั่วทั้งหมู่บ้านอย่างสวยงาม ในตอนพลบค่ำชาวบ้านต่างก็จะมารวมกันเดินทางไปที่โบสถ์เพื่อบูชาเทียน โดยมีความเชื่อกันว่าเป็นการต่อชะตา สะเดาะเคราะห์ และรับโชค รับพร โดยจะมีการทำไส้เทียนเท่ากับอายุตัวเอง และยังมีการเขียนวันเดือนปีเกิดตัวเองลงในกระดาษสา และเมื่อนำไปประกอบพิธีกรรมในโบสถ์เสร็จแล้วก็จะนำเทียนดังกล่าวกลับมาใช้ที่บ้าน ทั้งเอาไว้จุดบูชาพระ  จุดดอกไม้ไฟ หรือเอาไว้จุดปล่อยโคมไฟ 

     สำหรับเทศกาลประเพณียี่เป็งนี้ นอกจากทำบุญ และลอยกระทงแล้ว สิ่งที่เป็นไฮไลของงานที่ผู้คนนิยมเดินทางร่วมงานประเพณียี่เป็งกันมากที่สุดก็คือ การจุดโคมไฟให้ลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า โดยจะมีโคมไฟลอยขึ้นฟ้าเป็นจำนวนมากกว่า หนึ่งพันดวง ทำให้ท้องฟ้าสวยงามมองขึ้นไปเหมือนมีดาวเต็มท้องฟ้าไปหมด

ซึ่งท้องฟ้าในวันนี้จะเป็นเหมือนแสงสีแสด เปล่งประกายระยิบระยับ และประเพณีจัดกันทุกจังหวัดของภาคเหนือ แต่จะมีการจัดงานกันแบบยิ่งใหญ่ และสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้ไปเที่ยวงานมากที่สุดคือที่ จังหวัดเชียงใหม่

 

สนับสนุนโดย  sagame

ประเพณีบุญผะเหวด

ดอกงิ้วป่าที่จะต้องเตรียมเอาไว้ประมาณ1,000ดอกเพื่อเป็นเครื่องบูชาคาถาพันที่ใช้ในงานบุญผะเหวดของชาวภาคอีสาน

ดอกงิ้วป่า ดอกมันปลา และ ดอกปีบ ที่ได้นำเอามาตากให้แห้งและมีกลิ่นหอมอ่อนๆซึ่งเป็นดอกไม้ในจำนวนของ10ชนิดที่ได้ถูกจัดเตรียมเอาไว้อย่างละ1,000ดอกเพื่อเป็นเครื่องที่จะเอาไว้บูชาคาถาพัน หรือ คาถาที่เอาไว้ใช้เทศน์ในงานบุญผะเหวดตามแบบโบราณ

ซึ่งได้เชื่อว่าจะสามารถคุ้มครองชุมชนและปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายการหาดอกไม้ป่าและเครื่องบูชาในงานบุญผะเหวดที่ครบถ้วนตามแบบโบราณซึ่มันหาดูได้ยากในปัจจุบันนอกจากแต่ละชุมชนอาจจะปรับลดเพื่อที่ความสะดวกสบายทำให้มหาวิทยาลัยสารคามร่วมกับชุมชนโดยรอบรื้อฟื้นเครื่องทำบูชาและอนุลักษณ์การทำบุญผะเหวดตามแบบประเพณีดั่งเดิมของชาวลาวและชาวอีสานเพื่อที่จะให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาถึงแม้ว่าทางเหล่าคณะอาจราย์จะไม่พากันรื้อฟื้นชาวบ้านแถวนั้นก็จะต้องทำกันเองเพราะว่ามันจะขาดไม่ได้เลย

สำหรับงาน บุญผะเหวดและไม่ว่าจะเป็นที่ไหนก็ชั่งยังไงก็จะต้องทำอีสานจะต้องทำบุญผผะเหวดปีหนึ่ง จะต้องทำบุญผะเหวด1ครั้งต่อปีและจะต้องเป็นเดือน4เท่านั้นเดือน5จะทำไม่ได้อีกทั้งชาวบ้านแถวนั้นก็ยังเชื่ออีกว่าในการทำบุญผะเหวดนี้จะช่วยทำให้หมู่บ้านนั้นได้อยู่ร่มเย็นเป็นสุขและถ้ามีการจัดงานและทำไม่ถูกก็ไม่ดีไปอีกและทั้งนี้

ชาวบ้านแถวนั้นยังได้บอกอีกว่าบุญที่สำคัญนั้นจะต้องเป็นบุญผะเหวดจนได้มีการเขียนบันทึกเอาไว้และได้สืบทอดต่อลูกต่อหลานกันมาว่าชุมชนไหนก็ชั่งถ้าไม่ทำบุญผะเหวดเพื่อเป็นการบูชาเทพมหาธาตุนั้นจะเกิดเหตุไฟจะไหม้เมืองเกิดความไม่มั่งคลต่อบ้านเมืองแต่ถ้าหากหมู่บ้านที่ไหนๆได้จัดงานทำบุญผะเหวดอย่างถูกต้องพระคาถาพันท่านจะคุ้มครองทั้วหมดทั้งประเทศและในพื้นที่แห่งนั้นๆนั่นก็จะหมายความว่าชาวบ้านแถวนั้นก็จะอยู่ร่มเย็นเป็นสุขสำหรับในการเขียนภาพผะเหวดขนาดเล็กโดยที่ใช้ผ้าไหมและในการทำเทียนหางหนู

โดยจะตัดฝ่ายให้เป็นเส้นยาวได้นำเอามาชุมขี้ผึ้งแท้ที่ได้นำเอามาจากปนะเทศลาวตามความเชื่อเรื่องของความศักดิ์สิทธิ์รวมทั้งการแกะสลักต้นหม่อนให้กลายมาเป็นดอกโนซึ่งเป็นเพียวส่วนหนึ่งของการเตรียมงานบุญผะเหวดที่จะต้องอาศัยความรวมมือของคนที่อาศัยอยู่ในชุมชนปัจจุบันในการเตรียมเครื่องบูชาและดอกไม้ป่าตามที่บันทึกเอาไว้ในตำนานโบราณทำได้ลำบากเพราะวัตถุดิบนั้นมันหาได้ยากกว่าในอดีต

งานบุญเทศน์มหาชาติของชาวบ้านชีทวน

บุญผะเหวด งานบุญเทศน์มหาชาติของชาวบ้านชีทวน

พอถึงเดือน4ให้พากันเก็บดอกจานสารบั้งไม้ไผ่ปักดอกจิกข้อความนี้ได้มีการกล่าวถึงชาวอีสานมาแต่เก่าก่อนเพราะดอกจิกดอกจานจะบานราวเดือน3ชาวบ้านจะพากันเก็บดอกไม้เหล่านี้นำเอามาร้อยเป็นพวงมาลัยเพื่อตกแต่งศาลาเปรียญสำหรับเอาไว้จัดงานบุญใหญ่คือ งานบุญผะเหวด หรือที่รู้จัดกันโดยทั่วไปคือบุญมหาชาติเป็นงานบุญประเพเณีฮีตสิบสองของชาวอีสานวันนี้เราจะมาเล่าเรื่องเกี่ยวกับงานบุญผะเหวดหรืองานบุญมหาชาติของชาวชีทวนอําเภอเขื่องในจังหวัดอุบลราชธานีเป็นงานบุญที่ของชาวชีทวนยังคงอนุรักษ์วิถีชุมชนดั่งเดิมเอาไว้ให้ชนรุ่นหลังได้สืบสารกันต่อไป

บุญผะเหวดเป็นการออกเสียงตามสำนองของชาวอีสาน

ซึ่งมาจากคำว่าพระเวทบุญผะเหวดเป็นการจัดงานบุญเพื่อที่จะให้ชาบ้านนั้นรำลึกถึงพระเวสสันดรผู้บำเพ็ญบารมีอันยิ่งใหญ่ก่อนที่จะมาเสวยชาติเป็นองค์ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในชาติต่อมาหัวใจที่สำคัญของงานบุญผะเหวดคือการเทศน์มหาชาติ13กันในฮีตสิบสองของชาวอีสานถือว่างานบุญผะเหวดเป็นงานบุญที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในฮีตสิบสองนิยมจัดงานกันในช่วงเดือน3ถึงเดือน4งานประเพณีชีทวนเดือน4นั้นจะต้องทำเป็นประจำและถ้าไม่ทำเชื่อกันว่าอาจจะทำให้ฝนแร้งอะไรประมาณนั้นนอกเหนือจากบุญบั้งไฟเดือน6บุญมหาชาติฝนก็ได้ตกมาสารพัดที่ได้ตกลงมาเมื่อครั้งพุทธกาล

 

และบางครั้งในตอนที่ยังเป็นเวสสันดอนก็ดีถือได้ว่าเป็นฝนที่ตกลงมาอย่างสารพัดที่ทำให้เกิดความเป็นสิริมงคลและนั่นพวกชาวบ้านก็จึงได้จักงานทำบุญผะเหวดกันและก็ฟังเทศน์ตลอดทั้งวันเพื่อให้จบทั้ง13กันมีนกระทั้งปรารถนาว่าเกิดชาติหน้าต่อๆไปจะได้เกิดรวมกับพระศรีอริยเมตไตรย ชาวชีทวนยังคงรักษาประเพณีเก่าก่อนในการจัดงานบุญผะเหวดคือมีวันโฮมและวันฟังเทศน์วันโฮมหรือวันรวมเป็นวันที่จะต้องรวมมือรวมใจกันของผู้คนในชุมชนเพื่อที่จะได้เตรียมงานเทศน์มหาชาติได้มีการจัดตกแต่งศาลาหรือสถานที่ที่จะใช้จัดงานเตรียมเครื่องสักการะดอกไม้ธูปเทียนข้าวตอกข้าวพันก้อน

 

และเครื่องคาวหวานสำหรับผีเปรดโดยรอบๆศาลาจะมีการแขวงภาพผะเหวดเป็นเรื่องราวของพระเวสสันดรตั้งแต่กันที่1ถึงกันสุดท้ายและซึ่งที่ขาดไม่ได้เลยในงานบุญผะเหวดของชาวอีสานไม่ได้เลยก็คือข้าวปุ้นหรือขนมจีนจะต้องมีการจัดเตรียมเอาไว้ให้พร้อมสำหรับแขก บุญผะเหวดถ้าจะให้พูดเป็นภาษากลางเรยกบุญมหาชาติ มหา แปลว่าใหญ่ ชาติ แปลว่า  การเกิดขององค์สมเด็จขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นชาติสุดท้าย

ตำนานเมืองใต้ประเพณีชิงเปรต 

 สำหรับความเชื่อเรื่องประเพณีชิงเปรตนั้น

มีความเชื่อกันว่ายิ่งชิงได้มากเท่าไหร่ก็จะยิ่งได้บุญกุศลแรงเท่านั้น   การชิงเปรตเป็นประเพณีของภาคใต้จัดขึ้นในวันสารท เดือนสิบจัดขึ้นให้กับเปรตทั้งหลาย ที่มีชื่อเรียกที่น่ากลัวแบบนี้เพราะว่าเป็นประเพณีที่เป็นการทำบุญอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้บรรพบุรุษรวมถึงผีไร้ญาติ  โดยชาวบ้านทางภาคใต้เชื่อว่าคนที่ตายไปแล้วและยังคงมีบาปหนาจะกลายเป็นเปรต และจะอยู่ที่เมืองนรกเพื่อชดใช้กรรม และเปรตเหล่านั้นจะถูกปล่อยให้ขึ้นมาที่บนโรคมนุษย์ได้ 15 วันเพื่อมารับส่วนบุญที่ลูกหลานอุทิศให้ และเมื่อครบกำหนด 15 วันแล้ว

เปรตก็ต้องกลับไปชดเชยกรามที่นรกเหมือนเดิม ซึ่งวันที่เปรตขึ้นมาขอส่วนบุญนี้เราเรียนว่า วันส่งเปรต ซึ่งจะตรงกับวันสารท โดยในวันสารทลูกหลานของคนที่ตายแล้วจะจัดหาอาหารไปถวายพระที่วัด และจะเตรียมอาหารอีกส่วนหนึ่งเพื่อใช้ในการตั้งเปรต ซึ่งอาหารที่ใช้ในพิธีนี้จะมีขนมลา ,  ขนมพอง ,ขนมบ้า ,และขนมเบซำ และนำขนมเหล่านี้ไปวางรวมกันบนลานเปรต ซึ่งเป็นร้านสูงที่มีสายสิจน์ผูกอยู่พระสงฆ์จะทำพิธีสวดบังสะกุลให้กับลูกหลาน และทำการอุทิศส่วนกุศลและกรวดน้ำให้ผู้ตาย ซึ่งพิธีชิงเปรตจะเริ่มขึ้นหลังจบจากพิธีสวดและพระได้ฉันเพลแล้วโดยลูกหลานจะเข้าไปชิงอาหารที่มีชาวบ้านเอามาวางรวมกัน

โดยมีความเชื่อที่ว่ายิ่งชิงอาหารมาได้มากเท่าไหร่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วก็ยิ่งได้รับบุญมากเท่านั้น

      สำหรับประเพณีนี้มีการกระทำต่อต่อกันมาเป็นเวลานานแล้ว เป็นประเพณีที่ลูกหลานจะให้ความสำคัญ เพราะหากเมื่อถึงวันที่จะต้องมีการจัดประเพณีชิงเปรตขึ้น ต่อให้มีการไปทำงานอยู่ที่ต่างจังหวัด หากแต่ในวันดังกล่าวทุกคนจะต้องมารวมตัวกัน เพื่อมาประกอบพิธีชิงเปรตนี้ ซึ่งถือได้ว่า การจัดงานประเพณีชิงเปรตเป็นการจัดกิจกรรม เพื่อให้คนในครอบครัวได้มาอยู่รวมกันและยังเป็นการรวมตัวกันเพื่อระลึกถึงบรรพบุรุษ

     หากใครที่ได้ยินชื่อว่าประเพณีชิงเปรตอาจจะเข้าใจว่าพิธีกรรมนี้ไม่ควรทำเพราะชื่อไม่เป็นมงคล แต่ความจริงแล้วประเพณีนี้ถือว่าเป็นการทำบุญครั้งใหญ่เสียด้วยซ้ำไป ประเพณีชิงเปรตจะมีความคลายกับประเพณีของจีนประเพณีหนึ่ง นั่นก็คือ ประเพณีเทกระจาด แต่สำหรับของจีนแล้วจะต่างกันตรงที่พวกเขาจะทำให้ผีไม่มีญาติแต่ของไทยเราจะเน้นทำให้กับญาติ กับบรรพบุรุษ และก็สามารถทำให้กับเปรตที่ไม่มีญาติได้ด้วยเช่นกัน

ประวัติหลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด

 หลวงปู่ทวด หรือที่เราเรียกอีกชื่อว่าสมเด็จพะโคะ 

เกิดเดือนสี ปีมะโรง ซึ่งตรงกับวันศุกร์ ปี พ.ศ 2125 ที่บ้านสวนจันทร์  โดยเกิดในช่วงกรุงศรีอยุธยา โดยมีโยมพ่อชื่อนายหู และมีโยมแม่ชื่อจันทร์ เมื่อตอนเกิดมานั้นโยมพ่อโยมแม่ตั้งชื่อว่า ปู เรื่องที่เป็นสิ่งอัศจรรย์ครั้งแรกก็คือตอนที่ท่านยังเป็นเด็กทารก กล่าวคือวันหนึ่งโยมพ่อและโยมแม่ต้องออกไปทำนาก็เลยพาท่านได้ด้วยโดยที่ผูกเปลไว้กับต้นหว้าเอาหลวงปู่ทวดใส่เปลให้นอนเล่นเพียงลำพังทิ้งทารก

แล้วโยมพ่อโยมแม่ก็ออกไปทำนา ทำนากันไปได้พักใหญ่นางจันทร์มารดาก็เป็นห่วงลูกน้อยที่ใส่เปลเอาไว้ก็เลยย้อนกลับมาดูพอมาถึงเปลก็ตื่นตระหนกตกใจแทบสิ้นสติเพราะในเปลมีงูตัวใหญ่อยู่ข้างในเปลและมีการพันขดรอบตัวรอบรอบร่างเด็กชายปู นางจันทร์เลยตะโกนเรียกสามีให้มาช่วยลูก ฝ่ายนายหูและชาวบ้านที่กำลังทำนาอยู่ใกล้ใกล้กันก็พากินวิ่งมาหานางปูที่ต้นหว้าแขวนเปลมาเห็นงูใหญ่พันรอบตัวเด็กปูอยู่แต่เด็กก็ไม่ได้ดูกลัวงูแล้วมีคนแนะนำให้ข้าวตอกมาไหว้ขอร้องให้งูไปจากเด็กเพราะชาวบ้านต่างก็คิดด่างูนั้นน่าจะเป็นงูเทวดา

เมื่อสำรวจตัวเด็กน้อยก็ไม่ร่องรอยของการโดนงูกัด และที่สำคัญในเปล นางจันทร์เห็นว่ามีลูกแก้วลูกหนึ่งวางอยู่ก็เลยคิดว่าพญางูคงเอามาให้เด็กปู นางจันและนายหูก็เลยเก็บไว้ให้ ต่อมาเศรษฐีเจ้าของที่ได้รู้ข่าวเรื่องความอัศจรรย์ก็เลยอยากได้ลูกแก้ว จึงมาบังคับเอาลูกแก้วกับนายหู นายหูก็เลยต้องจำใจให้ลูกแก้วไป

แต่เมื่อเศรษฐีได้ลูกแก้วไปก็มีแต่เรื่องไม่ดีเกิดขึ้นกับเศรษฐีจึงทำให้เขาคิดได้ว่าน่าจะเป็นผลมาจากลูกแก้วที่ไปแย่งคนอื่นมา ทางเศรษฐีจึงได้เอาลูกแก้วไปคืนนายหู หลังจากนั้นนายหูก็เก็บเอาไว้ให้เด็กชายปูและเมื่ออายุได้ประมาณเจ็ดขวบนายหูก็ได้พาเด็กชายปูมาบวชเรียนพระอาจารย์จวง ที่วัดดีหลวงจนเชี่ยวชาญเรื่องหนังสือไทยและหนังสือขอมแล้วก็ย้ายไปเรียนกับพระชินเสนหลังจากนั้นก็บวชมีอยู่มาวันหนึ่งท่านต้องเดินทางไปกรุงศรีอยุธยา จึงขอติดเรือของอินไปด้วย เรือออกจากฝั่งไม่เท่าไหร่ก็เจอคลื่นซัดทำให้ของที่อยู่บนเรือพังเสียหาย

 

และน้ำดื่มที่เตรียมมาก็หกหมด นายอินคิดว่าที่ต้องมาเจอกับพายุเพราะมีพระนั่งเรือมาด้วยทำให้เกิดอาเพศจึงให้หลวงปู่นั่งเรือเล็กกลับฝั่งแต่ขณะนั้นหลวงปู่เอาเท้าห้อยบงไปในน้ำทะเล หลังจากนั้นท่านก็ตักน้ำทะเลมาดื่ม นายอินเห็นดังนั้นก็ถามว่าน้ำทะเลไม่เค็มเหรอ หลวงปู่ก็บอกว่าจืด นายอินจึงให้คนงานบนเรือลองกิน ผลปรากฏว่าจืดจริง นายอินจึงเชิญหลวงปูขึ้นเรือใหญ่อีกครั้ง และตั้งแต่นั้นชื่อเสียงของหลวงปู่ทวดก็ดังเรื่อยมา

พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญไปเวียงจันทร์

ประวัติการค้นพบพระแก้วมรกตและสาเหตุที่พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญไปเวียงจันทร์

ตามประวัติตำนานพระแก้วมรกตนั้นว่ากันว่าการค้นพบพระแก้วมรกตนั้นมีมานานเกินกว่า 500ปีมาแล้วโดยมีการระบุเป็นหลักฐานเอาไว้ว่าครั้งแรกที่มีการค้นพบพระแก้วมรกตนั้นพบว่ามีการซ่อนเอาไว้ที่วัดป่าแห่งหนึ่งแห่งเมืองเชียงรายโดยเจดีย์องค์นั้นถูกฟ้าผ่าทำให้ยอดเจดีย์หักซึ่งจังหวะนั้นเองมีพระสงฆ์รูปหนึ่งได้มาพบกับพระพุทธรูปที่ซ่อนอยู่ภายในเจดีย์ปูนแห่งนั้นพระสงฆ์องค์นั้นที่เป็นคนเจอพระแก้วมรกตจึงคิดว่าพระพุทธรูปที่ค้นพบเป็นเพียงแค่พระพุทธรูปที่สร้างมาจากหินเท่านั้นจึงได้นำพระพุทธรูปไปวางเรียงรายรวมกับพระพุทธรูปองค์อื่น

และต่อมาไม่นานปูนที่ฉาบบริเวณปลายฐานของพระพุทธรูปเกิดปรากฎการณ์ออกทำให้มองเห็นว่าด้านในของพระพุทธรูปเป็นสีเขียวมรกตหลังจากนั้นจึงได้มีการกะเทาะปูนที่ครอบพระพุทธรูปสีเขียวเอาไว้อยู่ทำให้เห็นว่าพระพุทธรูปองค์ดังกล่าวที่อยู่ด้านในถูกสร้างมาจากอินมรกตซึ่งเป็นลักษณะของการสร้างจากหยกชิ้นเดียวทั้งองค์และไม่มีรอยแตกที่ไหนเลยซึ่งหลังจากนั้นเรื่องดังกล่าวได้รู้ไปถึงหูของเจ้าเมืองเชียงใหม่พระองค์จึงสั่งให้ไปอัญเชิญพระแก้วมรกตมาไว้ยังเมืองเชียงใหม่แต่ระหว่างทางที่อัญเชิญกลับพบว่าช้างที่อัญเชิญพระแก้วมรกตนั้น

เมื่อถึงทางแยกระหว่างเชียงใหม่และลำปางกับตื่นตระหนกไม่ยอมเดินไปฝั่งของทางเชียงใหม่ซึ่งเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นถึงสามครั้งทำให้เจ้าเมืองเชียงใหม่เปลี่ยนใจให้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปไว้ที่เมืองลำปางแทนและนำพระแก้วมรกตไปประดิษฐานไว้ที่วัดพระแก้วเป็นเวลาประมาณสามสิบกว่าปี ประมาณปี พ.ศ. 2011 เจ้าเมืองเชียงใหม่องค์ใหม่เรืองอำนาจจึงได้มีการอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวงในเมืองเชียงใหม่เจ้าเมืองเชียงใหม่และพระองค์ยังได้มีการสั่งให้สร้างปราสาทขึ้นภายในวัดเพื่อใช้เป็นที่ประดิษฐานพระแก้วมรกตแต่ก็เกิดฟ้าผ่าทำให้ยอดประสาทเสียหาย

จึงทำให้พระแก้วมรกตถูกอัญเชิญนำมาเก็บไว้ในตู้ของวัดและได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองเชียงใหม่เป็นเวลา 84 ปี ต่อมาลูกสาวเจ้าเมืองเชียงใหม่ได้สมรสกับเจ้าโพธิสารเจ้าผู้ครองเมืองหลวงพระบางและได้มีโอรสนามว่าพระไชยเชษฐ์ซึ่งในปี พ.ศ. 2094 เจ้าเมืองเชียงใหม่ได้เสด็จสวรรคตโดยไม่มีทายาททำให้พระไชยเชษฐ์จำเป็นต้องเดินทางกลับมาปกครองเมืองเชียงใหม่และได้มีการเปลี่ยนพระนามเป็นพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช และหลังจากพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ได้ไม่นาน พระเจ้าโพธิสารซึ่งเป็นบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคต ทำให้พระองค์ต้องเสด็จกลับเมืองหลวงพระบางและพระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วยและพระองค์ก็ตัดสินใจอยู่ปกครองเมืองที่หลวงพระบางซึ่งต่อมาพม่าบุกยึดเชียงแสนได้สำเร็จทำให้พระเจ้าไชยเชษฐ์ได้ย้ายไปอยู่ที่เมืองเวียงจันทร์และหลังจากนั้นพระแก้วมรกตจึงได้ประดิษฐานอยู่ที่เวียงจันทร์ถึง215 ปี

เส้นทางการไปพบภาพเขียนของผาแต้ม

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข24เป็นหนึ่งทางหลวงสายประทานของภาคตะวันออกเฉียงเหนือยที่แยกตัวออกมาจากหมายเลขหลักหมายเลข2หรือถนนมิตรภาพโดยเริ่มจากทางแยกต่างระดับสีคิ้วเขตจังหวัดนครราชสีมาตัดผ่านอีกหลายจังหวัดก่อนที่จะเข้าไปสิ้นสุดที่เขตอำเภอเมืองอุบลราชธานีรวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ420กิโลเมตรทางหลวงในประเทศไทยในปัจจุบันยังใช้ตัวเลขจำกัดเพื่อบ่งบอกถึงความสำคัญในลักษณะการเชื่อมต่อภูมิภาคเช่นทางหลวงที่มีตัวเลขตัวเดียวจะหมายถึงทางหลวงหลักที่เริ่มจากกรุงเทพมหานคร

ตัดเชื่อมต่อไปยังประเทศหลักของประเทศเช่นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข1หรือถนนพหลโยธินจะไปสิ้นสุดที่จุดเหนือสุดของประเทศที่อำเภอแม่สายจังหวัดเชียงรายสำหรับทางหลวงที่มีตัวเลขจำนวนสอหลักจะหมายถึงทางประทานตามภาคต่างๆที่ได้ต่อเชื่อมจากทางหลวงหมายเลขตัวเดียว

เพื่อสร้างโครงข่ายคมนาคมทาบกให้ครอบคุมพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมด้วย

สถานะทางหลวงสายประทานของอีสานใต้จึงทำให้ถนนหลวงหมายเลข24ได้กลายเป็นหนึ่งในเส้นทางหลักสำหรับในการเดินทางและขนส่งทางด้ารสินค้าที่มันสามารถเชื่อมต่อไปไกลถึงชายแดนแต่เรื่องราวเหล่านนี้ที่เราจะนำมาแนะเสนอที่เกี่ยวกับถนนเส้นนี้ไม่ใช่เรื่องของเศรษฐกิจหรือการคมนาคมใดๆแต่เราจะพาคุณไปเยี่ยมชอปราสาทศึกษาหินในหลายๆแห่งที่พบอยู่รายทางสองฝั่งถนนซึ่งปราสาทในแต่ละแห่งลวนมีเกล็ดสาระทางประวัติสาทหรือตำนานที่น่าสนใจจากอายุที่ยืนยาวนับพันปีจากนั้นเราจะพามาชอบเรื่องราวที่ได้มีนักศึกษาโบราณคดีได้มีการค้นพบภาพเขียนสี

ภาพเขียนสีที่ภพมีอายุไม่ต่ำกว่า3,000 4,000ปีโดยมีการค้บพบภาพเขียนสีอยู่หลายกลุ่มกระจายอยู่ตามแนวหน้าผาคือกลุ่มผาขาม กลุ่มผาแต้ม กลุ่มผาหมอน และ กลุ่มผาหมอนน้อย โดยส่วนใหญ่จะบอกเหล่าถึงวิธีชีวิตของคนในยุคนั้นซึ่งได้เป็นสังคมของเกษตรกรรมภาพเขียนนั้นบ่งบอกให้เห็นถึงการล่าสัตว์เครื่องมือเครื่องใช้มีภาพคนสัตว์รอยประทับมือและสัญลักษณ์บางอย่างที่นักโบราณคดีได้วิเคราะห์ว่ามันน่าจะสะท่อนถึงการปลูกข้าวในบรรดาภาพที่ได้พบทั้งหมด กลุ่มภาพเขียนสีผาแต้มเป็นกลุ่มภาพที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือมีภาพเขียนมากกว่า300ภาพ

เป็นภาพคนภาพสัตว์เครื่องมือในการจับปลาและลวดลายเลขาคณิตเรียงรายกันเป็นแนวยาวราวประมาณ180เมตรซึ่งถือได้ว่าเป็นกลุ่มภาพเขียนสีที่ยาวที่สุดในประเทศการที่ได้มาเที่ยวที่ผาแต้มนอกจากจะได้ชื่นชมความงามของศิลปะยุคก่อนประวัติศาสตร์สภาพทางธรณีวิทยาของผาแต้มก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่หน้าสนใจไม่แพ้กันผาแต้มเป็นผาหินทรายที่อยู่ในหมวดหินภูพานอายุประมาณ130ปีหน้าผาเกิดการยุบตัวที่ลาบสูงของโคราชและยังเกิดรอยแตกรอยเลื่อนเป็นช่องทางน้ำไหลซึ่งได้พัฒนากลายมาเป็นมาน้ำโขง

การสำรวจปราสาทหลังที่2ของพระศิวะ

รูปสลักนี้มันใหญ่โตและมีความหน้าทึ่งขนาดไหนในสายตาของคนที่เดินเข้าปราสาทมันได้ต่างจากรูปสลักเทพสตรีสองรูปที่มีขนาดเท่ากับมนุษย์แต่เทพองค์กลางจะมีขนาดที่ใหญ่กว่าสองเท่ารูปสลักในท่าใหญ่มหึมามันเป็นสิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ในทางโบราณคดีของขอมโบราณนั้นเองเมื่อได้มีการประกอบเสร็จมันจึงกลายเป็นรูปที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เมืองพระนคร

สำหรับรูปปั้นนั้นมีความสูงประมาณ5.6เมตรมี10กลอนและ5เศรียอาจจะทาด้วยสีแดงอาจทำให้น่าประทับใจมากขึ้นไปอีกในปราสาทรอบพระศิวะมีพระแม่อุมาชายาผู้ใจดีและมือกลองอีกสองคนและพระแม่กาลีชายาผู้โหดร้ายถือกระโหลกและขามนุษย์ปราสาททางเข้าสู่เทวาลัยนี้เป็นทางผ่านไปสู่ชีวิตหลังความตายจากนั้นมันจะเกิดอะไรขึ้น

เมื่อได้เดินผ่าประตูนี้ไปและคราวนี้นักประวัติศาสตร์ทางโบราณคดีจะศึกษาปราสาทหลังต่อไปที่จะก้าวผ่าไปสู่เทวาลัยตรงกลางได้พวกทีมงานก็ได้เก็บชิ้นส่วนรูปสลัก8รูปที่เคยได้ตั้งอยู่ที่นั่นไปแล้วจากนั้นพวกเขาก็จะค้นหาว่ารูปสลักเหล่านี้เป็นใครบ้างเพื่อที่จะทำความเข้าใจรูปสลักที่นั่นได้ถูกปล้นไปหมดพวกเขาไปถูกทุบแตกเพื่อที่จะได้ขนมันออกไปได้ส่วนของฐานนั้นล้มพังทั้งหมดและมีเพียงเศษรูปสลักที่ยังหลงเหลืออยู่เพียงเท่านั้นนักโบราณคดีได้คุ้นเคยกับรูปสลัก4รูปจากทั้งหมด8รูปและที่พิพิธภัณฑ์กรุงพนมเปญมีการแสดงส่วนลำตัวคนค่อมจากปราสาทและมีเศรียแกะสลักอีกสองเศียร

แต่ตอนนี้ยังไม่มีเบาะแสว่าพวกเขานั้นเป็นใครปราสาทหลังที่2นี้

มันยังคงเป็นปริศนาอยู่และมันก็จะยังคงเป็นปริศนาไปตลอดกาลและมีท่านหนึ่งที่เป็นนักสำรวจไม่ได้ไปที่เกาะแกและวาดรูปแกะสลักก่อนที่มันจะหายไปซึ่งมีภาพวาดของนักโบราณคดีท่านหนึ่งที่น่าสนใจมากซึ่งมันก็อาจจะดูยากหน่อยแต่ก็มันทำให้เราเห็นภาพของสถานที่นี้ตอนที่เขานั้นได้ค้นพบมาเมื่อปี่1885รูปสลักนี้ยังอยู่หลังจากที่ได้มีการขุดค้นทีละชั้นและของทุกอย่างก็ยังอยู่ที่เดิมไม่มีอะไรล้มและมีแค่เศรียที่มันยังหายไปบ้างและมีรูปสลักรูปหนึ่งที่ทำให้เกิดคำถามเป็นรูปสลักที่ไร้เศียรขี่สัตว์จนมาถึงตอนนี้นักโบราณคดีเชื่อว่าสัตว์นี้เป็นวัวพาหนะพระศิวะและเอริคก็จะพิสูจน์ให้เห็นว่ามันไม่ใช่ระหว่างที่ขุดค้นเขาก็ได้พบกับชิ้นส่วนที่นำมาต่อกับหัวสัตว์ทันทีซึ่งได้นำเอามาต่อกันแล้วปรากฏว่ามันไม่ใช่วัวแต่มันเป็นเขากระบือ

ประเพณีการแข่งขันเรือยาว

ประเพณีการแข่งขันเรือยาวถือได้ว่าเป็นประเพณีที่เป็นมรดกวัฒนธรรมทางสายน้ำของชาวไทย

ที่มีการสะท้อนถึงวิถีชีวิตของชาวบ้านด้วยการผูกพันธ์กับสายน้ำต่างๆเหล่านี้โดยจะมีเรือและผู้คนชาวบ้านในระแวกที่อยู่กับริมแม่น้ำนั้น พวกเขาจะมีความสามัคคีกันไม่น้อยเลยโดยจะมีการร่วมมือเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันนั่นเอง

สำหรับประเพณีนี้มักจะมีการเกิดขึ้นพร้อมๆกับการทำบุญและการตักบาตร ในช่วงเทศกาลต่างๆ โดยจะมีเทศกาลที่สำคัญนั่นก็คือ เทศกาลออกพรรษา และทอดกฐินผ้าป่าสามัคคี

สำหรับประเพณีการแข่งเรือยาวนี้ถือได้ว่าเป็นเกมกีฬาที่มีความเก่าแก่ เพราะมีการเล่นกันตั้งแต่สมัยโบราณกาลย้อนกลับไปถึงสมัยอยุธยากรุงเก่าของเรานั่นเอง การแข่งเรือนั้นนอกจากจะนิยมภายในราชวังแล้วยังนิยมไปทั่วทุกพื้นที่โดยชาวบ้านหรือพวกพ่อค้าก็ตามสามารถเล่นกีฬานี้กันหมด ซึ่งเรื่องเหล่านี้ได้มีการปรากฏในกฏมณเทียรบาลเกี่ยวกับพระราชพิธีต่างๆที่มีมาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อีกด้วย เรื่องราวเหล่านี้ได้ถูกจารึกไว้ในสมัยกรุงศรีอยุธยาโบราณของเรา มีความดังนี้ว่าพระราชพิธีเดือน ๑๑ จะมีการแข่งเรือยาวขึ้น เพื่อเป็นการฝึกปรือกำลังพลทหารประจำกองเรือนั่นเอง

สำหรับการแข่งเรือยาวของพวกชาวบ้านนั้นถือได้ว่าจัดขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งเพื่อการละเล่นในช่วงเทศกาลทอดกฐินของคนไทยทอดผ้าป่า ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดือน ๑๑ – ๑๒ ซึ่งจะตรงกับฤดูน้ำหลากพอดี ซึ่งเหล่าชาวบ้านที่มีการตั้งบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้ำต่างๆนั้น จะมีการนำเรือเพื่อเป็นการใช้งานเป็นประจำอยู่แล้วเมื่อถึงหน้ากฐิน ผ้าป่าสามัคคีก็มักจะนิยมนำเรือมาร่วมขบวนแห่ผ้ากฐิน องค์ผ้าป่าไปยังวัดอยู่แล้วดังนั้นหากมีการแห่เสร็จก็จะทำการแข่งเรือเป็นการเล่นให้สนุกสนานต่างๆนานา

กีฬาแข่งเรือนั้นได้พัฒนาขึ้นตามลำดับแถมยังเป็นกีฬาที่มีการเชื่อมต่อเป็นการสานสัมพันธ์ให้กับทุกคนอีกด้วย แถมกีฬานี้ยังเป็นเป็นเกมกีฬาระดับประเทศชิงถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯอีกด้วย จึงทำให้กีฬานี้ได้กลายเป็นกีฬาทางน้ำที่ได้รับความนิยมแพร่หลายในหลายๆ จะมีการจัดขึ้นกันที่สนามแข่งขันบริเวณตามลุ่มน้ำสำคัญในประเทศ เช่น ประเพณีแข่งขันเรือยาวจังหวัดพิจิต การแข่งขันเรือยาวจังหวัดน่าน การแข่งขันเรือยาวจังหวัดชุมพร  และจังหวัดอื่นๆ ที่เป็นลุ่มน้ำสำคัญในประเทศไทย

จุดประสงค์หลักๆของความสำคัญในการจัดการแข่งขันเรือยาวนี้ถือได้ว่าเป็นประเพณีต่างๆที่ดีเพื่อเป็นการสร้างความสามัคคีของฝีพายในเรือลำเดียวกัน  และเห็นความเสียสละของฝีพายที่จะต้องขยันหมั่นซ้อมพาย เพื่อเป็นการทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจ ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน และเสน่ห์ของเกมกีฬาประเภทนี้อีกอย่างก็คือ จังหวะ ความพร้อมเพรียงในการพาย การจ้วงพายให้เร็วขึ้นเมื่อเข้าใกล้เส้นชัย กระชับ รวดเร็วแต่พร้อมเพรียงกัน การแข่งขันที่ให้คนดูได้ลุ้นอยู่ตลอดเวลา และการพากย์เสียงของพิธีกรประจำสนามที่ต้องยอมรับว่าสร้างความตื่นเต้นเร้าใจให้กับการแข่งขันได้ไม่น้อยเลยทีเดียว