ป้ายกำกับ: ประวัติศาสตร์พวกมองโกล

ประวัติศาสตร์พวกมองโกลทำการบุกพม่า

กุบไลข่าน จอมทัพมองโกล ซึ่งได้เอาชนะจีนภาคเหนือแล้วตั้งใจจะรวมอาณาจักร 2 ภาคใต้รวมทั้งมณมลฑณยูนานและเลยไปถึงเมืองฮานอย ดังนั้นในปีคริสต์ศักราช 1253 กองทัพมองโกเข้ายึดครองอาณาจักร น่านเจ้า และในปีคริสต์ศักราช1257 ก็เข้าครองเมืองฮานอย

คนไทยเสียอาณาจักรน่านเจ้าไปแล้วทหารไทยจำนวนไม่น้อยจำต้องเข้ารวมอยู่ในกองทัพมองโกลทำให้มีโอกาสได้เรียนรู้ยุทธวิธี

ประวัติศาสตร์พวกมองโกล และกลเม็ดการรบของพวกมองโกลขณะนั้นกุบไลข่านปรับปรุงกองทัพและในปี คริสตต์ศักราช1260 เริ่มรบต่อต้านราชวงศ์ซ้องพี่ชายใหญ่  ซึ่งเป็นหัวหน้าสูงสุดของพวกมองโกลข่านมากุนตายในการรบ กุบไลข่ายจึงกลายเป็นหัวหน้าพวกมองโกลและป้องครองจีนทั้งประเทศด้วยในฐานะเป็นผู้รับมรดกราชวงศ์ซ้อง กุบไลข่านต้องการให้อาณาจักรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทุกอาณาจักรที่เคยยอมรับราชวงศ์ซ้องเป็นใหญ่บัดนี้ควรยอมรับตนเช่นเดียวกัน

เนื่องจากบัดนี้กุบไลข่านเป็นหัวหน้าพวกมองโกลและเป็นผู้ชนะจึงต้องการให้อาณาจักรทั้งหลายส่งบรรณาการมาให้แจงชัดและแน่นอนดังนั้นพระองค์จึงใช้กำลังบังคับให้กษัตริย์ทั้งหลายดังนั้นเพราะองค์จึงใช้กำลังทหารบังคับให้กษัตริย์ทั้งหลายมาถวายสัตย์ปฏิญาณต่อหน้า

ในปีคริสต์ศักราช1257 หลังจากที่พระองค์ปราบราชวงศ์ซ้องที่ต่อต้านประเทศจีนได้หมดแล้วพระองค์ได้มีพระบัญชาไปยังอุปราชทั้งหลายให้เรียกร้องบรรณาการและการสวามิภักดิ์จากกษัตริย์ทั้งหลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในปีคริสต์ศักราช 1271 อุปราชมองโกลที่มลฑณยูนานก็ส่งคำสั่งไปยังกษัตริย์พม่าอย่างน้อยก็สมัยพระเจ้าอนุรุทธเป็นต้นมาที่อาณาจักรพุกามที่ไม่เคยส่งบรรณาการให้จีนและคณะทูตพม่าที่ไปยังเหมือนหลวงจีนได้รับการต้อนรับอย่างสมเกียรติอย่างประเทศใหญ่ๆทุกประการ

อันที่จริงพระเจ้าอนุรุทธกลับทรงได้รับบรรณาการจากอาณาจักรน่านเจ้าบริวาลของจีนด้วยซ้ำถึงแม้ว่าพวกเจ้าไทรใหญ่ต่างๆที่อยู่ตามชายแดนภาคเหนือของพม่าไม่แสดงท่าทีว่าอุปราชมองโกลควรเป็นฝ่ายแสดงคารวะกษัตริย์พม่าดังนั้นเขาจึงส่งทูตไปยังกรุงพุกามเรียกร้องบรรณาการพระเจ้านรสีหบดีด้วยความสนับสนุนจากประชาชนของพระองค์

นอกจากนี้ พระเจ้านรสีหบดี ทรงปฏิเสธไม่ยอมรับทูตที่มาเรียกร้องบรรณาการนั้นอีก2ปีต่อมากษัตริย์จีนส่งทูตมาอีกนำพระราชสารกุบไลข่านมาเองพงศาวดารระบุว่าทูตในฐานะเป็นผู้แทนของจักรพรรดิทำตัวเหมือนเป็นจักรพรรดิเองและไม่ยอมถอนรองเท้าเข้าเฝ้ากษัตริย์พม่า

กษัตริย์พม่าจึงทรงสั่งให้จับทูตและคณะทันที่และต่อมาสั่งให้ประหารชีวิตเสนาบดีพากันทักท้วงชี้ให้เห็นว่าไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับชีวิตและเสรีภาพของทูตแต่กษัตริย์พม่าอ้างว่าเนื่องจากทูตได้ประพฤติผิดอย่างร้ายแรงจึงไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงสิ่งนั้นคงเป็นความจริงว่าทูตคงก่อปัญหายุ่งยากขึ้น

 

สนับสนุนเรื่องราวโดย    aesexy