ประวัติศาสตร์รูปภาพทังก้า

ประวัติศาสตร์รูปภาพทังก้า

สำหรับทังก้าในภาษาไทยเรียกว่าภาพพระปลดมันเป็นศิลปะอย่างหนึ่งในศาสนาพุทธชั้นสูงที่พุทธศาสนิกชนสายวัชรยานคือกลุ่มคนที่อยู่ทางแทบหลังคาโลกเช่นทิเบตเนปาลภูฏานอะไรแทบนั้นแหละเขาได้นับถือกันมันจะเป็นลักษณะภาพวาดหรือว่าภาพปักหรือที่เขาได้ทำบนฝ้ายหรือผ้าไหม

ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเขาจะเขียนเป็นภาพของพระพุทธเจ้าพระโพธิสัตว์แล้วก็เรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธประวัตที่หลากหลายไม่ก็จะเป็นภาพจักรวาลตามความเชื่อของพระพุทธศาสนาในนิกายนั้นเอาง่ายๆเลยเขานั้นได้ทำขึ้นเพื่อเทิดทูนพระพุทธเจ้านี่แหละถ้าจะเปรียบกับบ้านเราก็น่าจะเปรียบได้เหมือนกับพระพุทธรูปหรือว่าจิตกรรมฝาผนังนั่นเอง

นอกจากนี้ทังก้านั้นมันจะเป็นสิ่งที่ทำมาจากผ้าดูผืนแบนๆแต่ว่ามันก็มีวิธีการทำที่ซับซ้อนไม่แพ้พระพุทธรูปเลยทีเดียวยิ่งเป็นภาพทังก้าในแบบฉบับโบราณแล้วมันยากขนาดไหน

โดยวิธีการทำทังก้าในแบบฉบับโบราณดั่งเดิมจะมีความเว่อวังอลังการมากตั้งแต่วัตถุอุปกรณ์ที่ใช้ผลิตสีที่พวกเขานั้นใช้มันจะเป็นสีที่มาจากธรรมชาติที่ได้สกัดมาจากแร่ธาตุต่างๆที่จะต้องไปงมหาแถวเทือกเขาเสร็จแล้วยังไม่พอจะต้องไปหายางไม้ชนิดดีเพื่อเอามาบดผสมกับสีชนิดนี้

ส่วนสีทองที่เราเห็นอยู่บนผ้าผืนนี้มันคือทองคำทองและน้ำที่ได้เอามาผสมสีมันไม่ใช่น้ำธรรมดาปะปาจะต้องเป็นน้ำแร่จากธรรมชาตเท่านั้นและอุปกรณ์ที่เขาจะใช้ในการเขียนได้ทำมาจากเขาจามรีที่เป็นสัตว์ชนิดหนึ่งที่ได้อศัยอยู่ในเทือกเขาแทบนั้นแต่ในปัจจุบันนี้เขาใช้พู่กันเขียนกันแล้ว

ซึ่งภาพเขียนที่ได้นั้นจะมีความปราณีตมากสีที่นำเอามาเขียนมันก็จะมีความชัดเจนคมชัดว่ากันว่ามันจะสดใสยาวนานนับร้อยปีเลยทีเดียวจากขั้นตอนการรวบรวมไปจนถึงการผลิตเราคงจะนึกออกแล้วว่ามันจะกินเวลานานขนาดไหน

ดังนั้นทังก้าจึงได้เป็นมากกว่าภาพที่ธรรมดาเท่านั้นเวลาวาดภาพทังก้าชาวพุทธในแทบนั้นก็จะมีความเชื่อเหมือนกับบ้านเราเลยที่เชื่อในการสร้างพระพุทธรูปคือผู้ที่ร่วมสร้างก็จะได้รับบุญกุศลเช่นกันแต่มันก็น่าเสียดายที่ทังก้าโบราณต่างๆเรามีขอมูลประวัติความเป็นมาน้อยมาก

เนื่องด้วยตามธรรมเนียมการปฏิบัติของศาสนาพุทธในเทือกแถวนั้นในเวลาที่เขานั้นสร้างอะไรไว้อย่างเรียบร้อยแล้วเขาจะไม่จารึกเอาไว้ว่าใครเป็นคนสร้างใครเป็นคนบริจากให้แต่มันจะมีข้อเสียมันไม่ดีต่อทางโบราณคดีก็คือมันยากกว่าที่จะไปทำการหาสืบค้นหาประวัติต่างๆได้ยาก

 

สนับสนุนเรื่องราวโดย  bk8