ประวัติจอมพล ป. พิบูลสงคราม

ประวัติจอมพล ป. พิบูลสงคราม

เผยชีวิตจอมพล ป. พิบูลสงคราม ตั้งแต่เกิด จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงครามผู้ที่ได้มีชีวิตอยู่ในระหว่างวันที่14กรกฎาคม พ.ศ.2440 ถึง วันที่11มิถุนายน พ.ศ.2507 หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงแหน่งนานที่สุดคือ 15ปี24วัน รวม8สมัยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีนโยบายที่สำคัญคือการมุ่งพัฒนาประเทศไทยให้มีความเจริญรุ่งเรืองเท่าเทียมกับนานาอรัญประเทศได้มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติได้ออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลายอย่าง

ซึ่งในบางอย่างได้ประกาศให้เป็นกฎหมายในภายหลังหลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติเช่นการรำวงก๋วยเตี๋ยวผัดไทเป็นผู้เปลี่ยนชื่อประเทศสยามเป็นประเทศไทยและได้เป็นผู้เปลี่ยนเพลงชาติไทยมาเป็นเพลงที่เรานั้นได้ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

นอกจากนี้ยังได้มีคำขวัญที่เรานั้นได้รู้จักกันเป็นอย่างดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือเชื่อผู้นำชาติพ้นภัยหรือท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วยและไทยอยู่คู่ฟ้าในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งได้เห็นว่า

จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่ได้มีบทบาททางการเมืองสูงและให้ความสนใจกับความคิดที่ส่องไปในเชื้อชาตินิยม

ซึ่ง จอมพล  ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่21มิถุนายน พ.ศ.2507 ในเวลาประมาณ20.30นาทีที่บ้านพักส่วนตัวชาญกรุงโตเกียวอายุได้เพียง67ปี 

ในวัยเด็ก จอมพล  ป. พิบูลสงคราม แปลกขีตสังคะ สำหรับชื่อจริงคำว่า แปลกนั้นเป็นเพราะว่าช่วงที่ได้เกิดมาครั้งแรกนั้นบิดาได้มองเห็นว่าหูของเขานั้นได้อยู่ต่ำไปกว่าตาของเขาทั้งสองข้างมันผิดไปจากบุคคลธรรมดาจากนั้นบิดาเขาก็เลยได้ตั้งชื่อให้ว่าแปลก แปลกขีตสังคะ ได้เกิดวันที่14กรกกฎาคม พ.ศ.2440 บิดาของเขานั้นชื่อนายขีดและมารดาของเขาชื่อนางสำอางในนามสกุลขีตสังคะ บ้านเกิดของเขาได้เป็นบ้านหลังใหญ่ขนาดสองชั้นที่ปากคลองบางเขนเก่าอยู่ตรงข้ามกับวัดปากน้ำไม่ห่างไปจากศาลากลางจังหวัดนนทบุรีและวัดเขมาภิรตารามอำเภอเมืองจังหวัดนนทบุรี

สำหรับอาชีพภายในครองครัวนั้นได้ทำอาชีพเกษตรกรรมปลูกสวนทุเรียนและผลไม้โดยเด็กชายแปลกขีดตะสังคะเขาได้เป็นบุตรคนที่สองทั้งหมดในพี่น้องทั้ง5คนและพี่ชายคนโตของเขานั้นมีชื่อว่านายประเกิคได้รับราชการทางทหารได้ยศพลตรีคนที่สามได้ชื่อเตีนคนที่สี่เป็นชายมีชื่อว่าปรุงและคนสุดท้ายแล้วชื่อนายคันชิตเข้ารับราชการทางทหารได้ยศพลตรี

นอกจากนี้ดานการศึกษาและการเข้าสู่อาชีพของทหารเด็กชายแปลกนั้นได้เข้าระบบการศึกษาครั้งแรกที่วัดวัดเขมาภิรตารามจังหวัดนนทบุรี เมื่อพ.ศ.2452